กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8717
ชื่อเรื่อง: สถาปัตยกรรมในบ่อดิน : สทึงเจราคลับ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: ARCHITECTURE IN EARTHEN PONDS : STUENG JARA CLUB
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ชัยวัฒน์ อยู่วัฒนา
วันที่เผยแพร่: 2565
สำนักพิมพ์: Sripatum University
แหล่งอ้างอิง: ชัยวัฒน์ อยู่วัฒนา. 2562. "สถาปัตยกรรมในบ่อดิน : สทึงเจราคลับ." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
หมายเลขชุด/รายงาน: SPU_2562
บทคัดย่อ: รูปแบบสถาปัตยกรรมที่เกิดจากสภาพแวดล้อมรอบตัวของมนุษย์ จากการสร้างเพื่อการดำรงชีวิต และ การสร้างเพื่อตอบสนองในการใช้ชีวิต ตามวิถีชีวิตของพื้นที่นั้น ๆ ที่ดินถือเป็นส่วนสำคัญต่อการเกิดสถาปัตยกรรม จึงเห็นว่าประเทศไทยในปัจจุบันมีพื้นที่หลุมลึกที่เกิดจากการขุดดินมาใช้ หรือ การขุดเพื่อทำเหมืองเอาแร่ธาตุ เมื่อหมดประโยชน์จึงถูกปล่อยทิ้งร้างจำนวนมากสร้างปัญหาให้สิ่งแวดล้อมรอบ ๆ มีการใช้พื้นที่หลุมลึกแบบผิด ๆ อีกทั้งยังไม่มีการพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับพื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด นำมาสู่การออกแบบตัวสถาปัตยกรรมให้มีความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมและพื้นที่ โดยนำเอาหลักการก่อสร้างสถาปัตยกรรมในบ่อลึกใช้เป็นแนวความคิดในการออกแบบ เพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆ
รายละเอียด: เป็นวิทยานิพนธ์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ผู้ทำวิจัยศึกษาสถาปัตยกรรมในบ่อดิน : สทึงเจราคลับ
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8717
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:08. ผลงานนักศึกษา

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
ชัยวัฒน์ อยู่วัฒนา.pdf31.59 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น