KNOWLEDGE BANK @ SPU

เป็นโครงการเชื่อมโยงชุมชนนักวิชาการ อาจารย์ นักวิจัย บรรณารักษ์ และ นักศึกษามหาวิทยาลัยศรีปทุมในการนำคลังความรู้ของคณะและหน่วยงานมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ในฐานข้อมูลเดียวกัน

 

คลังข้อมูลสถาบันมหาวิทยาลัยศรีปทุม

(SPU-IR : Sripatum University Institutional Repository)

แหล่งรวมข้อมูลผลงานด้านวิชาการของคณาจารย์ นักศึกษา และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้แก่ บทความวิชาการ

ผลงานวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ตำราและสื่อการสอน ที่จัดเก็บในรูปแบบดิจิทัล

เพื่อให้บุคลากร นักศึกษา และบุคคลทั่วไปที่สนใจ สามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลผลงานวิชาการ และเอกสารดิจิทัลต่าง ๆ

ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้อย่างเสรี (Free Open Access) เป็นการส่งเสริมคุณภาพและความแข็งแกร่งด้านวิชาการของ

มหาวิทยาลัย ให้เผยแพร่ เกิดการพัฒนาและต่อยอดองค์ความรู้ เพื่อนำไปสู่ประโยชน์ของประเทศ


ชุมชนใน SPU-IR

เลือกชุมชนเพื่อเรียกดูคอลเลคชัน

ตอนนี้กำลังแสดง1 - 8 ของ 33
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

College of Aviation and Transportation

วิทยาลัยการบินและคมนาคม

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

Graduate College of Managenent

วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

School of Business Administration

คณะบริหารธุรกิจ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

College of Logistics and Supply Chain

วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

Institute General Education

สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

School of Communication Arts

คณะนิเทศศาสตร์

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

College of Tourism and Hospitality

วิทยาลัยการท่องเที่ยวและการบริการ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

School of Accounting

คณะบัญชี

ผลงานล่าสุด

รายการ
ปัญหาแนวทางในการทำคำพิพากษาสำหรับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราและกระทำชำเราเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา
(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2567) กฤษกร นิลจันทร์
สารนิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการกำหนดอัตราโทษสำหรับความผิดฐานข่มขืนกระทำชำเราและกระทำชำเราเด็กตามประมวลกฎหมายอาญา โดยนำมาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับแนวทางในการกำหนดโทษของ รัฐวิกตอเรีย เครือรัฐออสเตรเลีย ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศอังกฤษ เพื่อค้นหาแนวทางและเครื่องมือที่จะช่วยทำให้คำพิพากษาของศาลมีความได้สัดส่วนกับการกระทำความผิด
รายการ
การนำหลักปรับเป็นพินัยและหลักการชะลอฟ้องมาใช้บังคับกับการถือครองที่ดิน
(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2567) ภูมินิติ จันทวงศ์
สารนิพนธ์นี้ศึกษาปัญหาเกี่ยวกับการนำหลักปรับเป็นพินัยและหลักการชะลอฟ้องมาใช้บังคับกับการถือครองที่ดิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิด ทฤษฎี และหลักการของการนำหลักปรับเป็นพินัยและหลักการชะลอฟ้องมาใช้บังคับกับการถือครองที่ดิน ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการนำหลักปรับเป็นพินัยและหลักการชะลอฟ้องมาใช้กับการถือครองที่ดินของประเทศไทยและต่างประเทศ วิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับการนำหลักปรับเป็นพินัยและหลักการชะลอฟ้องมาใช้บังคับกับการถือครองที่ดิน และเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการนำหลักปรับเป็นพินัยและหลักการชะลอฟ้องมาใช้บังคับกับการถือครองที่ดิน
รายการ
การจัดการการตลาดดิจิทัล
(2567-09) ดร.นนทิพันธุ์ ประยูรหงษ์
การจัดการการตลาดดิจิทัล
รายการ
Digital Art: NAN City
(ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์, 2567-06-21) ณัฐกมล ถุงสุวรรณ
หลักการและแนวคิดจากการเห็นความสำคัญของการเผยแพร่ความสวยงามและคุณค่าของวัฒนธรรมไทยที่อยู่ตามพื้นที่ต่าง ๆ อันจะเป็นการอนุรักษ์และบอกเล่าเรื่องราวต่อคนรุ่นใหม่ การเลือกใช้สื่อในการสื่อสารที่เข้ากับคนรุ่นใหม่จึงมีแนวคิดในการถ่ายทอดภาพความสวยงามของพื้นที่ผ่านภาพกราฟิกในแนวทางร่วมสมัยด้วยการใช้รูปแบบของงานศิลปะในแนว Stylized หรือการแสดงออกทางภาพที่เป็นกราฟิกแบบเข้ากับยุคสมัย ใช้ความโดดเด่นของวัตถุในภาพให้สะดุดตา เป็นการนำเสนอภาพให้ดูง่ายขึ้น ให้เห็นชัดเจนถึงความโดดเด่นของสิ่งที่ต้องการนำเสนอ ซึ่งภาพในแนวนี้จะสามารถส่งเสริมการสร้างภาพในเชิงของดิจิทัลอาร์ตส์จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ด้วยแนวคิดในการต้องการสื่อสารความสวยงามของพื้นที่ทางวัฒนธรรมที่แสดงออกผ่านทางงานสถาปัตยกรรมที่เป็นพุทธศาสนสถาน อาคารบ้านเรือนและสภาพแวดล้อม เพื่อแสดงออกถีงแนวทางในการนำเสนอความสวยงามจากสถานที่จริงมาประยุกต์ผ่านงานศิลปะในรูปแบบของภาพกราฟิก ซึ่งภาพกราฟิกในรูปแบบนี้โดยรวมเป็นการนำเสนอภาพที่มีการตัดทอนในรายละเอียดให้ดูง่ายขึ้น เพิ่มหรือลดสัดส่วนแบบเกินจริงเพื่อให้เกิดความโดดเด่นของสิ่งที่ต้องการนำเสนอ โดยภาพในรูปแบบนี้จะเหมาะสมกันได้ดีและพัฒนาได้ไม่ยากกับการสร้างภาพในเชิงของดิจิทัลอาร์ตส์จากโปรแกรมคอมพิวเตอร์เนื่องจากลดทอนความสมจริงบางส่วนออกไป ด้วยแนวคิดในการต้องการสื่อสารความสวยงามของพื้นที่ทางธรรมชาติและวัฒนธรรมที่แสดงออกผ่านทางงานสถาปัตยกรรมที่เป็นพุทธศาสนสถาน อาคารบ้านเรือนและสภาพแวดล้อม เพื่อแสดงออกผ่านงานศิลปะในรูปแบบของภาพกราฟิก เป็นการผสมผสานในด้านเรื่องราวของวัฒนธรรมกับงานศิลปะที่เป็นการออกแบบสร้างสรรค์ให้เป็นมุมมองใหม่ที่ส่งเสริมจินตานาการของผู้ดูแต่ยังคงไว้ซึ่งเอกลักษณ์ของสถานที่นั้น ๆ
รายการ
Onyx: The Deeper Shade of Darkness
(Rajamangala University of Technology Rattanakosin, 2566-05-26) Warakorn Chaitiamvong
The rise of digital technology in the late 20th century has greatly transformed the way people work, with various industries and professions incorporating digital tools and methods into their workflow. The creative industry, in particular, has been heavily impacted by the digital revolution, with digital media changing the art creation process. Artists are now required to use digital devices and tools to create digital art, a popular form that encompasses a wide range of works such as fine arts, architecture, sculpture, and painting. Digital painting, in particular, has become a popular form of digital art, enabling artists to combine traditional art theory and skills with digital technology to experiment with new creative techniques. Digital art offers several advantages, including the ability to create without limitations on location or budget and the versatility to display finished work in various media forms. Consequently, digital art has become a significant source of creative inspiration, leading to the creation of many innovative works. The project "Onyx: The Deeper Shade of Darkness" focuses on using digital tools to create digital paintings inspired by Thai flowers.