Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/1126
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorไพบูลย์ ปัญญาคะโป-
dc.date.accessioned2551-06-02T08:39:37Z-
dc.date.available2551-06-02T08:39:37Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/1126-
dc.description.abstractบทความนี้เป็นการนำเสนอการวิเคราะห์หากำลังต้านทานแผ่นดินไหวของอาคารด้วยวิธีการผลักอาคาร โดยที่การกระจายแรงกระทำคำนวณได้จากผลของการรวมแรงเฉือนในแต่ละรูปแบบการสั่น (mode shape) ด้วยวิธีการหารากที่สองของผลรวมกำลังสอง (The Square Root of the Sum of the Squares, SRSS) เพื่อใช้ในวิเคราะห์หากำลังต้านทานแผ่นดินไหวของอาคารโดยวิธีการออกแบบเชิงพฤติกรรม ผลที่ได้แสดงในรูปแบบของ ความสัมพันธ์ระหว่างกำลังต้านทานและการเคลื่อนที่ของอาคาร พร้อมทั้งค่าระดับความเสียหายของอาคารตามเส้นทางการเคลื่อนที่ของโครงสร้าง ผลการวิเคราะห์สำหรับอาคารสูง 15 ชั้นพบว่า ค่าความเสียหายของอาคารที่ระดับชั้นที่สองถึงชั้นที่สี่ มีค่าสูงกว่าในชั้นอื่นๆ และค่าระดับความเสียหายสำหรับแรงกระทำคำนวณจากผลของการรวมโหมดที่สูงขึ้นไปให้ค่าระดับความเสียหายที่มากขึ้นจากโหมดแรก เนื่องจากมีการคำนึงถึงผลของการสั่นในรูปแบบการสั่นอื่นด้วย ดังนั้น วิธีการผลักอาคารแบบรวมโหมดด้วย SRSS จึงให้ผลที่น่าเชื่อถือกว่าวิธีการผลักแบบที่พิจารณาเพียงรูปแบบการสั่นแบบแรกen_US
dc.subjectแผนผังกำลังต้านทานแผ่นดินไหวen_US
dc.subjectการออกแบบเชิงพฤติกรรมen_US
dc.subjectความเสียหายคงที่en_US
dc.subjectการวิเคราะห์การผลักวิธีการหารากที่สองของผลรวมกำลังสองen_US
dc.titleกำลังต้านทานแผ่นดินไหวของอาคารโดยวิธีการผลักแบบรวมโหมดด้วย SRSSen_US
dc.title.alternativeSEISMIC CAPACITY OF BUILDING BY SRSS PUSHOVER ANALYSISen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความที่นำเสนอในการประชุมวิชาการ ปีการศึกษา 2550

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ไพบูลย์ ปัญญาคะโป.pdf273.19 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.