กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4169
ชื่อเรื่อง: มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทย
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: ธนกฤต หงษ์ฤทัย
คำสำคัญ: สิทธิบัตรยา
กฎหมาย
วันที่เผยแพร่: 21-พฤศจิกายน-2555
แหล่งอ้างอิง: ธนกฤต หงษ์ฤทัย. 2552. "มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา : กรณีศึกษาสิทธิบัตรยากับการคุ้มครองผลประโยชน์ของประเทศไทย." สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
บทคัดย่อ: มาตรการบังคับใช้สิทธิบัตรยา(Compulsory Licensing) เกิดขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกโดยนายแพทย์มงคล ณ สงขลา อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขได้ตัดสินใจบังคับใช้สิทธิบัตรยามาตรา 51 ของพระราชบัญญัติ สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2542 เจตนารมณ์คือต้องการให้ยามีราคาถูกลงและประชาชนเข้าถึงยาได้ง่ายขึ้น โดยเบื้องต้นได้ประกาศใช้สิทธิบัตรยาด้านไวรัสเอสไอวี ได้แก่ ยาเอฟาไวเรนซ์ (Effavirenz) และยาสูตรผสมระหว่างโลพินาเวียร์และแรโทนาเวียร์ (Lopinavir & Ritonavir) ที่จำหน่ายภายใต้เครื่องหมาย ยาโคลพิโดเกรล(Clopidogrel) ที่จำหน่ายในชื่อ พลาวิคซ์ (Plavix) แม้จะเป็นการใช้สิทธิโดยรัฐเพื่อสาธารณประโยชน์ที่มีวัตถุประสงค์เชิงพาณิชน์ (Public Non-Commercial Use) และสอดคล้องกับความตกลงทริปส์ (The Agreement on Trade-Related Aspects of Intellectual Property Rights) ขององค์การการค้าโลก (World Trade Organization- WTO) ข้อ 31 (b)
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4169
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:LAW-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
IS_52_นบ_ธนกฤต หงษ์ฤทัย.pdf4.54 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น