Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5394
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอดุลย์ มีสมนัยen_US
dc.date.accessioned2017-09-28T03:46:15Z-
dc.date.available2017-09-28T03:46:15Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationอดุลย์ มีสมนัย. ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีการรับมรดก. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ.2560.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5394-
dc.descriptionอดุลย์ มีสมนัย. ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีการรับมรดก. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ. คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ.2560.en_US
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง ปัญหาการจัดเก็บภาษีการรับมรดกตามพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิวัฒนาการ ทฤษฎี และหลักการจัดเก็บภาษีมรดก ศึกษาและวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย และปัญหาเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีมรดกของไทยเปรียบเทียบกับของต่างประเทศ ตลอดจนศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดเก็บภาษีมรดก จากการศึกษาการจัดเก็บภาษีมรดกตามพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ.2558 นั้น กำหนดให้จัดเก็บภาษีการรับมรดกจากผู้รับมรดกก่อให้เกิดการจัดเก็บภาษีซ้ำซ้อน กล่าวคือ มรดกกองเดียวอาจเสียภาษีมากกว่าหนึ่งครั้ง สร้างความไม่เป็นธรรม ไม่ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ซึ่งในสหรัฐอเมริกาจัดเก็บภาษีมรดกจากกองมรดกทำให้ไม่เกิดปัญหาการจัดเก็บภาษีซ้ำซ้อนนอกจากนี้ สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นยังจัดเก็บภาษีจากการให้โดยเสน่หาควบคู่ไปกับการจัดเก็บภาษีมรดก จากทรัพย์สินทุกประเภททั้งที่อยู่ในประเทศและที่อยู่ในต่างประเทศ รวมถึงสิทธิอื่นๆ ที่อาจตีเป็นมูลค่าเงินได้ทำให้ลดปัญหาการหลบเลี่ยงภาษีได้เป็นอย่างดี แต่สำหรับไทยจัดเก็บภาษีมรดกเพียงอย่างเดียว มิได้จัดเก็บภาษีจากการให้โดยเสน่หาอย่างเป็นรูปธรรมสอดคล้องกับการจัดเก็บภาษีมรดก และจัดเก็บจากทรัพย์สินค่อนข้างจำกัดเฉพาะทรัพย์สินที่มีทะเบียนควบคุม และส่วนมากเป็นทรัพย์สินที่อยู่ภายในประเทศ ทำให้เกิดปัญหาการหลบเลี่ยงภาษีได้ง่าย ดังนั้น ผู้วิจัยจึงเห็นควรเสนอให้มีการจัดเก็บภาษีมรดกจากกองมรดกและภาษีจากการให้โดยเสน่หา โดยจัดเก็บจากทรัพย์สินทุกประเภททั้งที่อยู่ภายในประเทศและที่อยู่ในต่างประเทศ เหมือนกับที่กำหนดไว้ในกฎหมายของประเทศสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นซึ่ง จะทำไทยจัดเก็บภาษีมรดกเพียงอย่างเดียว มิได้จัดเก็บภาษีจากการให้โดยเสน่หาอย่างเป็นรูปธรรมสอดคล้องกับการจัดเก็บภาษีมรดก และจัดเก็บจากทรัพย์สินค่อนข้างจำกัดเฉพาะทรัพย์สินที่มีทะเบียนควบคุม และส่วนมากเป็นทรัพย์สินที่อยู่ภายในประเทศ ทำให้เกิดปัญหาการหลบเลี่ยงภาษีได้ง่ายen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU _อดุลย์_2560en_US
dc.subjectภาษีมรดกen_US
dc.subjectการจัดเก็บภาษีการรับมรดกen_US
dc.subjectพระราชบัญญัติภาษีการรับมรดก พ.ศ. 2558en_US
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษีการรับมรดกen_US
dc.title.alternativeLEGAL PROBLEMS RELATING TO THE COLLECTION OF INHERITANCE TAXen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:LAW-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความปัญหาทางกฎหมาย.pdf228.47 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.