Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจีรภัคร เอนกวิถีen_US
dc.date.accessioned2018-07-26T10:23:59Z-
dc.date.accessioned2018-07-26T10:24:02Z-
dc.date.available2018-07-26T10:23:59Z-
dc.date.available2018-07-26T10:24:02Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.citationจีรภัคร เอนกวิถี. 2557. "ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความจงรักภักดีต่อองค์การของพนักงาน กรณีศึกษาอร์ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท." การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5559-
dc.descriptionจีรภัคร เอนกวิถี. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความจงรักภักดีต่อองค์การของพนักงาน กรณีศึกษา โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการ. 2557.en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของพนักงานในองค์การ โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความจงรักภักดีต่อองค์การของพนักงานโรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ พนักงานของโรงแรม เอเชีย แอร์พอร์ท จำนวน 166 คน ครอบคลุม 5 ตำแหน่งงาน คือ Manager Assistance Manager Supervisor Officer Staff โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการศึกษา ซึ่งผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรง เชิงเนื้อหา (Content validity) จากอาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ และได้ทำการทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) ได้ค่า Cronbach’s reliability Coefficient alpha โดยรวมเท่ากับ 0.951 สถิติที่ใช้ในการศึกษาประกอบไปด้วย การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สถิติ t-test และสถิติ ANOVA F-test ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และการวิเคราะห์สัมประสิทธ์ิสหสัมพันธ์ (Pearson Product Moment Correlation) ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01 ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานโรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท ได้แก่ เพศ อายุ ตำแหน่งงาน วุฒิการศึกษา สถานภาพ ระยะเวลาปฏิบัติงาน และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ที่แตกต่างกันมีความจงรักภักดีต่อองค์การไม่แตกต่างกัน แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน ส่งผลต่อความจงรักภักดี โดยมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ปัจจัยจูงใจด้านความสำเร็จของงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ และด้านความก้าวหน้า ในตำแหน่งการงาน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนปัจจัยค้ำจุน ด้านนโยบายการบริหารองค์การ ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและสวัสดิการ ด้านสภาพการทำงานด้านวิธีปกครองบังคับบัญชา และด้านความมั่นคงในงาน โดยรวมอยู่ในระดับมากen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ วิทยาลัยบัณฑิตศึกษาด้านการจัดการen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_นักศึกษาปริญญาโท_2557en_US
dc.subjectทฤษฏีแรงจูงใจen_US
dc.subjectความจงรักภักดีต่อองค์การen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับความจงรักภักดีต่อองค์การของพนักงาน กรณีศึกษา โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ทen_US
dc.title.alternativeTHE RELATIONSHIP BETWEEN MOTIVATION AND ORGANIZATIONAL LOYALTY : A CASE STUDY OF ASIA AIRPORT HOTELen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:GRA-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์
GRA-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Research(Complete).pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

Admin Tools