Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5588
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorภคพล พิงพิทยากุลen_US
dc.date.accessioned2018-09-05T08:41:51Z-
dc.date.available2018-09-05T08:41:51Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.citationภคพล พิงพิทยากุล. 2560. "การศึกษาสมรรถนะของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ 4.0 ด้วยเทคนิคการแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD)." การค้นคว้าอิสระวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5588-
dc.descriptionภคพล พิงพิทยากุล. การศึกษาสมรรถนะของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ 4.0 ด้วยเทคนิคการแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD). การค้นคว้าอิสระนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุม ปีการศึกษา 2559.en_US
dc.description.abstractการศึกษาสมรรถนะของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ 4.0 นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีของสมรรถนะที่จำเป็นของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ และเพื่อกำหนดรายการสมรรถนะที่จำเป็นของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ เพื่อรองรับแนวคิดโลจิสติกส์ 4.0 ผลการวิจัย พบว่า การวิเคราะห์สมรรถนะที่มีความสำคัญและจำเป็นของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ในยุคโลจิติกส์ 4.0 ผู้ตอบแบบสอบถามบุคลากรส่วนใหญ่เป็นผู้บริหารระดับกลาง (เช่น ผู้อำนวยการ ผู้จัดการ ผู้ช่วยผู้จัดการ หัวหน้าศูนย์) ประเภทหน่วยงานเป็นผู้ให้บริการด้านโลจิสติกส์ ประเภทธุรกิจตามกลุ่มสินค้าที่หน่วยงานของบุคลากรเป็นประเภทธุรกิจยานยนต์ และชิ้นส่วนอะไหล่ยนต์และประเภทธุรกิจสินค้าอุปโภคบริโภค ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์สมรรถนะของบุคลากรด้านความรู้ ส่วนใหญ่เป็นบุคลากรมีความสามารถในการวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาเบื้องต้น ด้านคุณธรรมจริยธรรม ส่วนใหญ่เป็นบุคลากรมีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านภาวะผู้นำ ส่วนใหญ่เป็นบุคลากรมีทักษะการรับสินค้า ด้านภาวะผู้นำ ส่วนใหญ่เป็นบุคลากรมีการรับรู้ความต้องการเป้าหมายขององค์กร ตามลำดับ และผลการวิเคราะห์ความเห็นเกี่ยวกับวิธีการพัฒนาบุคลากรด้านโลจิสติกส์บุคลากรด้านโลจิสติกส์ ส่วนใหญ่บุคลากรมีความคิดเห็นในเรื่องของศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของบุคลากรส่วนใหญ่มีความสามารถปรับตัวได้ทันกับเทคโนโลยีในการทำงานและวิธีการจำเป็นต้องพัฒนาบุคลากรส่วนใหญ่เป็นการไปศึกษาดูงานen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน วิทยาลัยโลจิสติกส์และซัพพลายเชน มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_ภคพล _2559en_US
dc.subjectสมรรถนะของบุคลากรen_US
dc.subjectโลจิสติกส์en_US
dc.titleการศึกษาสมรรถนะของบุคลากรด้านโลจิสติกส์ 4.0 ด้วยเทคนิคการแปลงหน้าที่เชิงคุณภาพ (QFD)en_US
dc.title.alternativeA STUDY OF COMPETENCY OF LOGISTICS 4.0 WORKFORCE BY USING QUALITY FUNCTION DEPLOYMENT (QFD) METHODen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:CLS-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.