Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอภัสรา สุทธิลักษณ์en_US
dc.date.accessioned2018-09-29T05:34:13Z-
dc.date.available2018-09-29T05:34:13Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.citationอภัสรา สุทธิลักษณ์. ปัญหาการกำหนดคุณสมบัติผู้จำหน่ายอิสระในธุรกิจขายตรง : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้เยาว์ ผู้มีวิชาชีพครูอาจารย์ และแพทย์. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2561.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5620-
dc.descriptionอภัสรา สุทธิลักษณ์. ปัญหาการกำหนดคุณสมบัติผู้จำหน่ายอิสระในธุรกิจขายตรง : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้เยาว์ ผู้มีวิชาชีพครูอาจารย์ และแพทย์. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2561.en_US
dc.description.abstractงานวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามาตรการทางกฎหมายและปัญหาเกี่ยวกับธุรกิจขายตรงในเรื่องการกำหนดคุณสมบัติของผู้ที่จะมาสมัครเป็นผู้จำหน่ายอิสระ ซึ่งพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 อันเป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจขายตรงนั้นไม่มีบทบัญญัติเกี่ยวกับการคุณสมบัติของผู้ที่เข้ามาสมัครเป็นผู้จำหน่ายอิสระ ทำให้ผู้เยาว์ซึ่งยังไม่บรรลุนิติภาวะ นักเรียน นักศึกษาเข้ามาสมัครเป็นผู้จำหน่ายอิสระ โดยใช้หลักกฎหมายเรื่องการทำนิติกรรมของผู้เยาว์ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เยาว์ และพบว่าอาชีพครูอาจารย์ และแพทย์เข้ามาเป็นผู้จำหน่ายอิสระได้ใช้อำนาจหน้าที่ความน่าเชื่อถือในทางวิชาชีพขายสินค้าหรือบริการให้แก่ผู้ที่เข้ามารับบริการหรือชักชวนให้สมัครเป็นผู้จำหน่ายอิสระในสายงานตนเองโดยที่ผู้รับบริการไม่เต็มใจ ส่งผลกระทบและก่อให้เกิดความเสียหายเป็นอย่างมาก จากการศึกษากฎหมายพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 ของประเทศไทยเปรียบเทียบกับกฎหมายของประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและประเทศสหรัฐอเมริกา พบว่าทั้งสองประเทศได้มีการวางหลักเรื่องคุณสมบัติของผู้จำหน่ายอิสระในธุรกิจขายตรงเกี่ยวกับเรื่องอายุและอาชีพของผู้ที่จะเข้ามาสมัครเป็นผู้จำหน่ายอิสระไว้ชัดเจน ดังนั้นผู้วิจัยเสนอแนะว่าประเทศไทยควรแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ.2545 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2550 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 3) พ.ศ.2560 โดยควรนำเอาหลักกฎหมายประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนและสหรัฐอเมริกาเรื่องการกำหนดคุณสมบัติผู้จำหน่ายอิสระในธุรกิจขายตรงเรื่องอายุและอาชีพของผู้สมัคร รวมทั้งการกำหนดบทลงโทษสำหรับผู้ประกอบธุรกิจขายตรงที่ฝ่าฝืนมาปรับใช้ในประเทศไทย เพื่อให้ผู้เยาว์และผู้บริโภคได้รับความคุ้มครองจากธุรกิจขายตรง เพื่อให้สามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในประเทศไทยได้อย่างเหมาะสมและเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรงดังกล่าวด้วยen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.relation.ispartofseriesอภัสรา สุทธิลักษณ์. ปัญหาการกำหนดคุณสมบัติผู้จำหน่ายอิสระในธุรกิจขายตรง : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้เยาว์ ผู้มีวิชาชีพครูอาจารย์ และแพทย์. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายธุรกิจ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2561.en_US
dc.subjectปัญหากฎหมายen_US
dc.subjectธุรกิจขายตรงen_US
dc.subjectคุณสมบัติผู้จำหน่ายอิสระen_US
dc.subjectผู้จำหน่ายอิสระen_US
dc.titleปัญหาการกำหนดคุณสมบัติผู้จำหน่ายอิสระในธุรกิจขายตรง : ศึกษาเฉพาะกรณีผู้เยาว์ ผู้มีวิชาชีพครูอาจารย์ และแพทย์en_US
dc.title.alternativeLEGAL PROBLEMS CONCERNING THE DETERMINATION OF QUALIFICATIONS OF THE INDEPENDENT DISTRIBUTORS IN THE DIRECT SALE BUSINESS : CASE STUDY OF MINORS, PROFESSIONAL TEACHERS AND MEDICAL DOCTORSen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:LAW-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความวิจัย.pdf357.39 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.