Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกอบเกื้อ กลางประพันธ์en_US
dc.date.accessioned2019-03-08T04:31:00Z-
dc.date.available2019-03-08T04:31:00Z-
dc.date.issued2562-03-08-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6057-
dc.descriptionนิติศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรีen_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายเกี่ยวกับการกาหนดข้อสันนิษฐานให้ร่วมรับผิดกับนิติบุคคลในคดีอาญาของกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดาเนินงานของนิติบุคคล จากการศึกษาพบว่า กฎหมายสหรัฐอเมริกาและกฎหมายประเทศอังกฤษเป็นต้นแบบของทฤษฎีการไม่คานึงถึงสภาพนิติบุคคลที่ได้กาหนดข้อยกเว้นความรับผิดของผู้แทนนิติบุคคลที่อาศัยนิติบุคคลเป็นช่องว่างไม่ให้ต้องรับผิด เนื่องจากคดีบางประเภทต้องอาศัยเจตนาของผู้กระทาความผิดเป็นฐานในการดาเนินคดีหรือเรียกว่า “คดีที่ปราศจากผู้เสียหาย” แต่มีผลกระทบต่อประเทศชาติและประชาชนโดยตรง รวมทั้งเพื่อเป็นการควบคุมการบริหารงานของผู้แทนนิติบุคคลจึงยังพบว่า บทสันนิฐานตามกฎหมายยังมีความจาเป็นต่อระบบกฎหมายของประเทศไทยและเป็นคนละกรณีกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 จากการศึกษาจึงเห็นควรให้คงไว้เพื่อประโยชน์ในการแสวงหาพยานหลักฐานและเครื่องมือของรัฐในการนาตัวผู้กระทาความผิดมาลงโทษและเป็นการปราบการกระทาของกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบจะต้องบริหารงานภายในนิติบุคคลให้อยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายและวัตถุประสงค์ของนิติบุคคลโดยไม่ใช้สถานะความเป็นนิติบุคคลที่มีความรับผิดแยกต่างหากจากบุคคลธรรมดามาเป็นช่องว่างทางกฎหมายในการแสวงหาประโยชน์และเอาเปรียบบุคคลภายนอกและการนาหลักการไม่คานึงถึงสภาพนิติบุคคลมาเป็นเครื่องมือในการปรับใช้แทนข้อสันนิษฐานตามกฎหมายให้ร่วมรับผิดกับนิติบุคคลของกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการหรือบุคคลซึ่งรับผิดชอบในการดาเนินงานของนิติบุคคลโดยควรมีการบัญญัติหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการไม่คานึงถึงสภาพนิติบุคคลไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วย นิติบุคคลและบทบัญญัติว่าด้วยห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจากัดและบริษัทจากัดและกฎหมายในระดับพระราชบัญญัติที่เป็นกฎหมายเกี่ยวกับความผิดที่ปราศจาก ผู้เสียหายเพื่อเป็นเครื่องมือของรัฐอีกทางหนึ่งนอกเหนือจากหลักการสันนิษฐานให้ร่วมรับผิดของผู้แทนนิติบุคคลกับนิติบุคคลและควรมีกฎหมายกาหนดขอบเขตถึงผลของคาวินิจฉัยเพื่อให้คาวินิจฉัยมีการบังคับใช้อย่างจากัดและมีหลักเกณฑ์มิใช่ผูกพันหน่วยงานทุกองค์กรและกฎหมายทุกฉบับจนส่งผลให้ระบบโครงสร้างทางกฎหมายได้รับความเสียหายขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้en_US
dc.language.isotren_US
dc.subjectความรับผิดen_US
dc.subjectผู้แทนนิติบุคคลen_US
dc.titleปัญหาและอุปสรรคทางกฎหมายของข้อสันนิษฐานความรับผิด ทางอาญาของผู้แทนนิติบุคคลen_US
dc.title.alternativeLEGAL PROBLEMS AND OBSTACLES RELATED TO THE LIABILITY PRESUMPTION IN CRIMINAL CASE OF JURISTIC PERSON’S REPRESENTATIVEen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:S_CHO-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.pdf135.08 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.