Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6261
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนงนุช งามศิริชัยกุลen_US
dc.date.accessioned2019-06-11T09:50:08Z-
dc.date.available2019-06-11T09:50:08Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.citationนงนุช งามศิริชัยกุล. 2561. "ดาวอังคารเมืองแห่งความรู้ทางอวกาศ." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6261-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรม หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.description.abstractมนุษย์เริ่มมีการประดิษฐ์คิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆขึ้นทุกวัน ทำให้มนุษย์สามารถเดินทางไปยังที่ต่างๆบนโลกได้อย่างไรขีดจำกัด ปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีเหล่านั้นอย่างไม่หยุดยั้ง จนกระทั่งเราสามารถเดินทางออกนอกโลกไปศึกษาดาวเคราะห์ต่างๆในระบบสุริยะได้ มนุษย์สามารถขึ้นไปสำรวจดวงจันทร์ คิดค้นพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านอวกาศจนสามารถตั้งสถานีอยู่บนอวกาศเพื่อสังเกตการเปลี่ยนแปลงของดวงดาวและโลกได้สำเร็จ การสำรวจเหล่านี้จะทำให้เราเห็นสภาพแวดล้อมนอกโลก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านความคิดและความเชื่อ ทำให้มนุษย์ได้ตั้งความหวังว่าอนาคตจะเกิดโลกใบใหม่สำหรับพวกเขา ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการตั้งอาณานิคมบนดวงดาวที่ชื่อว่า”ดาวอังคาร” แรงบัลดาลใจนี้จึงเกิดขึ้นเพื่อเป็นการสนับสนุนมนุษย์มีการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านอวกาศ และนวัตกรรมใหม่ๆเกิดขึ้น ความสนใจของแต่ละชนชาติทำให้เกิดความร่วมมือทางธุรกิจและการแข่งขันเพื่อนำไปสู่ความเจริญของชาติ ซึ่งประเทศไทยก็มีผลกระทบจากการแข่งขันทางวิทยาศาสตร์และอวกาศ ซึ่งประเทศไทยประสบปัญหาการขาดแคลนบุคลากรที่มีฝีมือ ความชำนาญด้านเทคโนโลยีอวกาศ การศึกษาและให้ความรู้เรื่องการตั้งถิ่นฐานบนดาวอังคารนี้จะเป็นกรณีศึกษาให้กับบุคลากรภายในประเทศได้มีโอกาสสร้างความรู้ความสามารถ และเกิดแรงบัลดาลใจในการพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศขึ้น การศึกษาข้อมูลความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อการสนับสนุนการให้ความรู้ทางด้านอวกาศ เช่น รายละเอียดที่ตั้งโครงการ องค์กรหรือภาครัฐที่ให้การสนับสนุนด้านอวกาศ เพื่อก่อให้เกิดโครงการ วิเคราะห์องค์ประกอบต่างๆของอาคาร และศึกษารายเอียดพื้นที่ใช้สอย รูปแบบการใช้ประโยชน์ของพื้นที่เพื่อตอบสนองจุดประสงค์หลักของโครงการได้อย่างดีที่สุด การออกแบบโครงการโคยคำนึงถึงบริบทสภาพแวดล้อมของดาวอังคารมาเป็นตัวแปรในการออกแบบ และใช้กระบวนการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมของดาวเพื่อการดำรงอยู่อาศัยของมนุษย์มาประกอบในการสร้างองค์ความรู้ให้กับผู้มาใช้โครงการเพื่อรับรู้ได้ถึงสภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ สถาปัตยกรรมดาวอังคารที่เกิดจากการพัฒนาด้านเทคโนโลยีอวกาศen_US
dc.description.sponsorshipคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseries57028305_นงนุช งามศิริชัยกุล_2561en_US
dc.subjectดาวอังคารen_US
dc.titleดาวอังคารเมืองแห่งความรู้ทางอวกาศen_US
dc.title.alternativeMARS KNOWLEDGE SPACE CITYen_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:ARC-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
57028305_นงนุช งามศิริชัยกุล.pdf10.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.