Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6505
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวิทวัส ศรีสวัสดิ์กุล, อดุลย์ พัฒนภักดี, เผชิญ จันทร์สาen_US
dc.date.accessioned2020-01-17T05:00:34Z-
dc.date.available2020-01-17T05:00:34Z-
dc.date.issued2019-12-19-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6505-
dc.description.abstractแบตเตอรี่รถยนต์ชนิดตะกั่วกรดเป็นแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้าสำหรับรถยนต์ แบตเตอรี่มีหน้าที่หลักที่สำคัญที่สุดเพื่อใช้สำหรับการสตาร์ทรถยนต์ โดยค่ากระแสแครงกิ้งเย็นคือคุณสมบัติที่จำเป็นที่สุดสำหรับการสตาร์ทรถยนต์ นอกจากนี้การสำรองไฟสำหรับอุปกรณ์อำนวยความสะดวกอื่นๆ หรือการสำรองไฟสำหรับใช้งานในขณะที่เครื่องยนต์หรือระบบประจุไฟไม่ทำงานก็เป็นอีกหน้าที่หนึ่งของแบตเตอรี่ที่ต้องคำนึงถึง การสำรองไฟของแบตเตอรี่จะมากหรือน้อยจะขึ้นอยู่กับความจุของแบตเตอรี่ บทความนี้ทำการศึกษาและประมาณค่าความสัมพันธ์ของค่ากระแสแครงกิ้งเย็นกับค่าแอมป์-ชั่วโมง ของแบตเตอรี่รถยนต์ชนิดตะกั่วกรด จากการเก็บข้อมูลของแบตเตอรี่รถยนต์ชนิดตะกั่วกรดของศูนย์บริการยานยนต์แห่งหนึ่งในช่วงเดือนมกราคม-พฤษภาคม 2562 โดยทำการทดสอบเก็บข้อมูลรถยนต์ชนิดเดียวกัน และแบตเตอรี่รถยนต์แบรนด์เดียวกัน โดยแบ่งเป็นแบตเตอรี่ขนาด 50 แอมป์-ชั่วโมง จำนวน 8 ข้อมูล แบตเตอรี่ขนาด ความจุ 65 แอมป์-ชั่วโมงจำนวน 13 ข้อมูล และ แบตเตอรี่ขนาดความจุ 80 แอมป์-ชั่วโมง จำนวน 7 ข้อมูล จากผลการเก็บข้อมูล และการประมาณค่าแบบ least square regression เพื่อหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างค่ากระแสแครงกิ้งเย็นหรือกระแสซีซีเอ (CCA)กับค่าแอมป์-ชั่วโมง (Ah) ของแบตเตอรี่ชนิดตะกั่ว-กรด จะได้สมการแสดงความสัมพันธ์เป็นen_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectแบตเตอรี่ชนิดตะกั่ว-กรดen_US
dc.subjectกระแสแครงกิ้ง เย็นen_US
dc.subjectแอมป์-ชั่วโมงen_US
dc.titleการศึกษาค่ากระแสแครงกิ้งเย็นของแบตเตอรี่รถยนต์ชนิดตะกั่ว-กรดen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.