Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6734
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorใกล้รุ่ง วิเวกรัมย์th_TH
dc.contributor.authorสุขประสงค์ วีระศรีth_TH
dc.date.accessioned2020-07-21T08:05:13Z-
dc.date.accessioned2020-07-21T08:05:16Z-
dc.date.available2020-07-21T08:05:13Z-
dc.date.available2020-07-21T08:05:16Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationใกล้รุ่ง วิเวกรัมย์ และสุขประสงค์ วีระศรี. 2562. "การศึกษาขนาดของเหล็กเสริมต่อการรับแรงในแนวทแยงของอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อก." ผลงานนักศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6734-
dc.descriptionโครงงานวิศวกรรมโยธาth_TH
dc.description.abstractรอยแตกร้าวบนผนังเป็นสิ่งที่วิศวกร ควรศึกษาและให้ความสำคัญเนื่องจากอาจส่งผลกระทบต่อโครงสร้างอาคาร รอยร้าวที่เกิดขึ้นนี้หากวิศวกรเข้าใจถึงพฤติกรรมการแตกร้าวของผนังทึบก็จะสามารถออกแบบโครงสร้างโครงข้อแข็งคอนกรีตเสริมเหล็กกับผนังทึบ โดยออกแบบให้ผนังทึบสามารถต้านทานแรงที่มากระทำ เพื่อให้เกิดรอยแตกร้าวได้น้อยที่สุด การศึกษาของโครงงานดังกล่าวนี้ได้พิจารณาโดยมุ่งเน้นศึกษาถึงปริมาตรของเหล็กเพื่อที่จะนำมาเสริมในผนังอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อก ซึ่งเป็นผนังที่ใช้คอนกรีตมวลเบาประเภทหนึ่ง มีกระบวนการผลิตตาม มอก.2601-2556 ที่ได้พัฒนารูปแบบของก้อนบล็อกคอนกรีตให้มีร่องเดือยบนตัวบล็อกใช้ปูนก่อซึ่งเป็นที่นิยมใช้โดยทั่วไปตามสภาพการทำงานในสถานการณ์จริงเป็นตัวประสาน ผลิตบล็อกด้วยวิธีไม่ผ่านกระบวนการอบไอน้ำภายใต้แรงดันสูง ก่อเป็นผนังสำหรับทดสอบขนาด 60x60 เซนติเมตร โดยจะแบ่งผนังอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อกออกเป็น 14 ตัวอย่าง ซึ่งในจำนวนนี้จะแบ่งเป็นผนังที่ทำการฉาบและไม่ฉาบ มีการเสริมเหล็กขนาดต่างๆ คือ RB6 , RB9 ในทิศทางและรูปแบบการวางที่ต่างกัน โดยการทดสอบมีการติดตั้งอุปกรณ์วัดค่าการเคลื่อนที่(Displacement Gauge) เพื่อวัดระยะการเคลื่อนตัวทั้งในแนวดิ่งและแนวราบ จากนั้นนำมาพิจารณาประกอบกับแรงที่กระทำบนผนังทดสอบ จากการคำนวณหาค่าความเค้นเฉือน ความเครียดเฉือน และโมดูลัสของแรงเฉือนตามมาตรฐาน American Society of Testing and Materials (ASTM) E519–02 ของผนังอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อกที่ไม่เสริมเหล็ก สามารถรับแรงในแนวทแยงได้มากที่สุด ซึ่งรับแรงได้เท่ากับ 985 kgf ค่าความเค้นเฉือนเท่ากับ 1.06 ksc ความเครียดเฉือน เท่ากับ 0.001315 และโมดูลัสของแรงเฉือนเท่ากับ 808.96 ksc ทำให้สามารถเปรียบเทียบถึงจำนวนเหล็กต่อการรับแรงในแนวทแยงของผนังอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อก ได้ผลการทดลองว่าชิ้นผนังทดสอบที่ไม่มีการเสริมเหล็กสามารถรับแรงได้มากที่สุดเมื่อเทียบกับการเสริมเหล็กทั้งในขนาดและรูปแบบการวางแนวเหล็กเสริมที่ต่างกันth_TH
dc.description.sponsorshipภาควิชาวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาเมือง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherภาควิชาวิศวกรรมโยธาและการพัฒนาเมือง คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.relation.ispartofseriesSPU_2561th_TH
dc.subjectกำลังรับแรงในแนวทแยงของผนังอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อกth_TH
dc.subjectคอนกรีตมวลเบาth_TH
dc.titleการศึกษาขนาดของเหล็กเสริมต่อการรับแรงในแนวทแยง ของอินเตอร์ล็อคกิ้งบล็อกth_TH
dc.typeOtherth_TH
Appears in Collections:EGI-08. ผลงานนักศึกษา
EGI-08. ผลงานนักศึกษา



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.