กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8180
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาการดำเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ชื่อเรื่องอื่นๆ: POLLUTION CONTROL AND REACTIVATION MEASUREMENT OPERATION DEVELOPMENT OF MAP TA PHUT INDUSTRIAL ZONE, RAYONG PROVINCE
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: พระครูปลัดอภิชัย อภิชโย (นิติการ)
ปิยากร หวังมหาพร
คำสำคัญ: การพัฒนา
การดำเนินงาน
มาตรการแก้ไขควบคุมมลพิษ
นิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด
วันที่เผยแพร่: พฤษภาคม-2021
สำนักพิมพ์: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
แหล่งอ้างอิง: พระครูปลัดอภิชัย อภิชโย (นิติการ)และปิยากร หวังมหาพร. (2564).การพัฒนาการดำเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, 15, 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2564): 96-107
บทคัดย่อ: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการด าเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษ 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษและ 3) น าเสนอแนวทางการพัฒนาการด าเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ด าเนินการวิจัยเชิงปริมาณ โดยศึกษากลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วยตัวแทนครัวเรือนในเขตควบคุมมลพิษเทศบาลเมืองมาบตาพุด จ านวน 393 ตัวอย่างเครื่องมือการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณเชิงเส้นตรงและใช้การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อยืนยันข้อมูลเพิ่มเติมโดยการสนทนากลุ่มซึ่งมีผู้ร่วมการสนทนาจำนวน 16 คน ซึ่งเลือกแบบเจาะจงผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับการด าเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษของนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดโดยรวมอยู่ในระดับต่ า (X = 2.35, S.D.= 0.41) 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามมาตรการแก้ไขและควบคุมมลพิษอย่างมีนัยส าคัญที่ระดับ .01 มีจำนวน 7 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยการมีส่วนร่วมของบุคคล และชุมชน ปัจจัยการบริหารจัดการ ปัจจัยการให้ความรู้ ปัจจัยแรงจูงใจ ปัจจัยความเข้าใจในนโยบาย และปัจจัยสภาพแวดล้อม และ 3) แนวทางพัฒนาการด ำเนินงานแก้ไขและควบคุมมลพิษ ได้แก่ การลดการปล่อยมลพิษ การบริหารจัดการ มลพิษ สาธารณสุขและอาชีวอนามัย การพัฒนาเชิงพื้นที่ และการมีส่วนร่วมป้องกันปัญหามลพิษ
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8180
ISSN: 1905-9647
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:GRA-02. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับชาติ)



รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น

เครื่องมือสำหรับผู้ดูแลระบบ