กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8608
ชื่อเรื่อง: สถาปัตยกรรมผ้าหมี่ขิดประยุกต์ : ศูนย์ต้อนรับนักท่องเที่ยวชุมชนบ้านเชียง
ชื่อเรื่องอื่นๆ: MODERN MEE KHIT INARCHITECTURE : BAN CHIANG TOURIST CENTER
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: อัฐพงษ์ วงขีลี
คำสำคัญ: ผ้าหมี่ขิด
ประยุกต์
การท่องเที่ยว
นักท่องเที่ยว
ชุมชน
วันที่เผยแพร่: 2565
สำนักพิมพ์: Sripatum University
แหล่งอ้างอิง: อัฐพงษ์ วงขีลี. 2563. "สถาปัตยกรรมผ้าหมี่ขิดประยุกต์ : ศูนย์ต้อนรับนักท่องเที่ยวชุมชนบ้านเชียง." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
หมายเลขชุด/รายงาน: SPU_2563
บทคัดย่อ: ชุมชนบ้านเชียงมีประวัติการค้นพบการใช้ผ้าหมี่ขิดมายาวนานและมีประวัติการค้นพบเกี่ยวกับมรดกโลกทำให้มีรู้จักกันให้แหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ประจำ จังหวัดอุดรธานี ปัจจุบันชุมชนบ้านเชียงมีนักท่องเที่ยวแค่คนในท้องถิ่นใกล้เคียง เพราะตัวชุมชนห่างไกลจากตัวเมืองมาก ทำให้การท่องเที่ยวสำหรับคนต่างจังหวัด หรือต่างชาติ นั้นมีเวลาท่องเที่ยวค่อนข้างจำกัดเวลา ไป-กลับ และภายในชุมชนขาดแหล่งที่รองรับนักท่องเที่ยวต่างจังหวัดและต่างชาติ
รายละเอียด: เป็นวิทยานิพนธ์ หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ที่ผู้ทำวิจัยศึกษาสถาปัตยกรรมผ้าหมี่ขิดประยุกต์ : ศูนย์ต้อนรับนักท่องเที่ยวชุมชนบ้านเชียง
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8608
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:08. ผลงานนักศึกษา

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
อัฐพงษ์ วงขีลี.pdf9.63 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น