Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9119
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorDenchai Woradechjumroenth_TH
dc.date.accessioned2023-04-28T10:07:00Z-
dc.date.available2023-04-28T10:07:00Z-
dc.date.issued2023-02-21-
dc.identifier.citation-th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9119-
dc.description.abstractจากปัญหาความซับซ้อนของวิศวกรรมงานระบบประกอบ (mechanical, electrical and plumbing, MEP) อาคารที่มากกว่าในอดีตส่งผลต่อปัญหาการประสานงานตั้งแต่การออกแบบจนถึงการติดตั้งร่วมกับงานสถาปัตยกรรมและงานโครงสร้าง เทคโนโลยีแบบจำลองสารสนเทศ (Building Information Modeling, BIM) ได้ถูกนำมาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาการซ้อนทับของงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานร่วมกันให้มีความรวดเร็วมากขึ้น โดยกระบวนการ BIM สามารถลดการทำงานที่ซ้ำซ้อน และควบคุมกระบวนการต่างๆให้สอดคล้องและถูกต้อง ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ระบบ BIM ได้มีการใชเพื่อลดขั้นตอนความผิดพลาดอย่างแพร่หลายโดยมีปัจจัยหลักที่ต้นทุนงานก่อสร้างที่สูงมากกว่าประเทศกำลังพัฒนาหลายเท่าตัว นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานที่ได้ตกลงร่วมกันเพื่อง่ายต่อส่งการส่งต่อข้อมูลในรูปแบบของ open BIM ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย Level of development (LOD) เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีความสำคัญต่อการกำหนดความละเอียดของรูปทรงเลขาคณิต (LOD-G) และความละเอียดของข้อมูล (LOD-I) ในรูปแบบของ BIM object ที่สามารถนำไปใช้งานระหว่างกระบวนการทำงานตั้งแต่การออกแบบจนถึงการส่งมอบงานบริหารทรัพยากรอาคาร โดย LOD-I มีประโยชน์ในการกำหนดข้อมูลที่จำเป็นในแต่ละกระบวนการทำงาน เช่น ข้อมูลการออกแบบจะอยู่ในทุกระดับของ LOD ทั่วไป หากแต่ข้อมูลผู้ผลิตอาจจะจำเป็นตั้งแต่ระดับ LOD-400 ขึ้นไป ตามแนวทางของ CIC Building Information Modeling Standard เป็นต้นth_TH
dc.language.isothth_TH
dc.publisherBIM Object สมาคม TBIMth_TH
dc.relation.ispartofseries-th_TH
dc.subjectLODth_TH
dc.subjectMEPth_TH
dc.titleแนวทางการกําหนด LOD สําหรับงาน MEP เพืth_TH
dc.typeArticleth_TH
Appears in Collections:EGI-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.