กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9364
ชื่อเรื่อง: การศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบิน ในภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม)
ชื่อเรื่องอื่นๆ: THE STUDY OF GUIDELINE FOR THE NEEDS OF AVIATION SAFETY PERSONNEL IN THE AVIATION INDUSTRY ACCORDING TO THE CONCEPT OF A LEARNING ORGANIZATION: THE CASE STUDY OF COLLEGE OF AVIATION AND TRANSPORTATION, SRIPATUM UNIVERSITY
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วีรภัทร เกศะรักษ์
คำสำคัญ: องค์กรแห่งการเรียนรู้
ความปลอดภัยการบิน
วิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม
วันที่เผยแพร่: 2565
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
แหล่งอ้างอิง: วีรภัทร เกศะรักษ์.(2565). การศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบิน ในภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม). การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 17 และการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยศรีปทุม ออนไลน์ ประจําปี 2565. 1816 - 1824
บทคัดย่อ: การศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินในภาอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินในภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดของ องค์กรแห่งการเรียนรู้ กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม การดําเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการบินทั้งภาคพื้นและภาคอากาศจํานวน 5 องค์กร และผู้บริหารวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม จํานวน 3 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษา แนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินของภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ทําให้ทราบว่าทุกองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการบินให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรและให้ความสําคัญของการปฏิบัติตามแนวคิดของ Peter M. Senge สําหรับการรับ บุคลากรเข้าทํางานและเพื่อให้การบริหารจัดการงานมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้บริหารของวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุมจะต้องตระหนักและให้ความสําคัญกับการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบุคคลที่ตรงกับทฤษฎีของ Peter M. Senge ในภาพของการสอดแทรกเรื่องความปลอดภัยเข้าไปบูรณาการกับทฤษฎีแล้วหลักสูตรจะสามารถผลิตบุคลากรที่ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการบินได้
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9364
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:CAT-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
การศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบิน.pdf325.87 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น