Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9494
Title: ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการคำนวณค่าเสียหายทางแพ่ง : กรณีละเมิดสิทธิบัตร
Other Titles: Legal problem regarding calculating of damages in case of patent infringement
Authors: ภัทรพงษ์ รักข้อง
Keywords: ความรับผิดทางแพ่ง
การละเมิดสิทธิบัตร
Issue Date: 2567
Publisher: มหาวิทยาลัยศรีปทุม
Citation: ภัทรพงษ์ รักข้อง. 2553. “ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการคำนวณค่าเสียหายทางแพ่ง : กรณีละเมิดสิทธิบัตร.” สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฏหมายธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
Abstract: ในปัจจุบันหลักเกณฑ์ในการคำนวณค่าเสียหายในกรณีละเมิดสิทธิบัตรของศาลไทยยังคงเป็นปัญหาข้อกฏหมายที่สำคัญเนื่องจากพระราชบัญญัติสิทธิบัตร พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติสิทธิบัตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542 แม้วว่าได้กำหนดค่าเสียหายไว้ในมาตรา 77 ตรีว่า “ในกรณีที่มีการฝ่าฝืนสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรหรือผู้ทรง อนุสิทธิบัตรตามจำนวนที่ศาลเห็นสมควร โดยคำนวณถึงความร้ายแรงของความเสียหายรวมทั้งการสูญเสียประโยชน์และค่าใช้จ่ายอันจำเป็นในการบังคับตามสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรหรือผู้ทรงอนุสิทธิบัตรด้วย” ประกอบกับค่าสินไหมทดแทนไว้ในประมวลกฏหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 438 “ค่าสินไหมทดแทนจะพึงใช้โดยสถานใดเพียงใดนั้น ให้ศาลวินิจฉัยตามควรแต่พฤติการณ์และความร้ายแรงแห่งละเมิด” สำหรับมาตรการในการป้องกันและเยียวยาความเสียหายได้มีการบัญญัติไว้ในมาตรการ รองรับในทางแพ่งไว้ในมาตรา 77 ทวิ ของพระราชบัญญัติสิทธิบัตร เรื่องของการขอให้ศาลมีคำสั่งระงับหรือละเว้นการกระทำละเมิดสิทธิบัตรก่อนฟ้องคดีและตามมาตรา 77
URI: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9494
Appears in Collections:LAW-11. การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์



Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.