CAT-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู CAT-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "วีรภัทร เกศะรักษ์"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 4 ของ 4
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ การศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม)(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2564) วีรภัทร เกศะรักษ์การศึกษาแนวทางการเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบิน และคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเป็ นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความ ปลอดภัยการบินกรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม การดําเนินการวิจัยครั้งนี้เป็ นการ วิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับสถานประกอบการใน อุตสาหกรรมการบินทั้งภาคพื้นและภาคอากาศจํานวน 5 องค์กรโดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่าจากการศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน ทําให้ทราบว่า ทุกองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการบินให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรและให้ความสําคัญของการปฏิบัติ ตามแนวคิดของ Peter M. Senge เพื่อให้การบริหารจัดการงานมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวทางการเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน ของวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม จะต้องตระหนักและ ให้ความสําคัญกบการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบุคคลที่ตรงกับทฤษฎีของ Peter M. Senge ในภาพของการสอดแทรก เรื่องความปลอดภัยเข้าไปบูรณาการกับทฤษฎีแล้วหลักสูตรจะสามารถผลิตบุคลากรที่ตรงกบความต้องการของ ภาคอุตสาหกรรมการบินได้รายการ การศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม)(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2564) วีรภัทร เกศะรักษ์การศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบินกรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม การดําเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการบินทั้งภาคพื้นและภาคอากาศจํานวน 5 องค์กรโดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัยผลการวิจัยพบว่าจากการศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน ทําให้ทราบว่าทุกองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการบินให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรและให้ความสําคัญของการปฏิบัติตามแนวคิดของ Peter M. Senge เพื่อให้การบริหารจัดการงานมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน ของวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม จะต้องตระหนักและให้ความสําคัญกับการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบุคคลที่ตรงกับทฤษฎีของ Peter M. Senge ในภาพของการสอดแทรกเรื่องความปลอดภัยเข้าไปบูรณาการกับทฤษฎีแล้วหลักสูตรจะสามารถผลิตบุคลากรที่ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการบินได้รายการ การศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน(กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม)(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2564) วีรภัทร เกศะรักษ์การศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบินกรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม การดําเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการบินทั้งภาคพื้นและภาคอากาศจํานวน 5 องค์กรโดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษาแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน ทําให้ทราบว่า ทุกองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการบินให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรและให้ความสําคัญของการปฏิบัติตามแนวคิดของ Peter M. Senge เพื่อให้การบริหารจัดการงานมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวทางการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ด้านความปลอดภัยการบิน ของวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม จะต้องตระหนักและให้ความสําคัญกบการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบุคคลที่ตรงกับทฤษฎีของ Peter M. Senge ในภาพของการสอดแทรกเรื่องความปลอดภัยเข้าไปบูรณาการ กับทฤษฎีแล้วหลักสูตรจะสามารถผลิตบุคลากรที่ตรงกบความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการบินได้รายการ การศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบิน ในภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม)(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565) วีรภัทร เกศะรักษ์การศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินในภาอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ (กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินในภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดของ องค์กรแห่งการเรียนรู้ กรณีศึกษาวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม การดําเนินการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) กับสถานประกอบการในอุตสาหกรรมการบินทั้งภาคพื้นและภาคอากาศจํานวน 5 องค์กร และผู้บริหารวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุม จํานวน 3 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า จากการศึกษา แนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินของภาคอุตสาหกรรมการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ทําให้ทราบว่าทุกองค์กรในภาคอุตสาหกรรมการบินให้ความสําคัญกับการพัฒนาบุคลากรและให้ความสําคัญของการปฏิบัติตามแนวคิดของ Peter M. Senge สําหรับการรับ บุคลากรเข้าทํางานและเพื่อให้การบริหารจัดการงานมีประสิทธิภาพ ดังนั้นแนวทางความต้องการบุคลากรด้านความปลอดภัยการบินตามแนวคิดขององค์กรแห่งการเรียนรู้ ผู้บริหารของวิทยาลัยการบินและคมนาคม มหาวิทยาลัยศรีปทุมจะต้องตระหนักและให้ความสําคัญกับการพัฒนานักศึกษาให้เป็นบุคคลที่ตรงกับทฤษฎีของ Peter M. Senge ในภาพของการสอดแทรกเรื่องความปลอดภัยเข้าไปบูรณาการกับทฤษฎีแล้วหลักสูตรจะสามารถผลิตบุคลากรที่ตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมการบินได้