กำลังเรียกดู โดย ผู้เขียน "Korakot Pakakaew"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ Proposed policy for developing social innovations to create value for the aging(Kasetsart Journal of Social Science, 2566-06) Sirinthorn Sinjindawong; Ranida Nuchniyom; Korakot PakakaewThis paper has its objectives: (1) to study the aging wisdom in terms of arts and crafts, arts of agricultural culture, and education; and (2) to create policy proposals for developing social innovations to create value for the aging.Snowball sampling was used to recruit the target group consisting of 6 senior citizens from Pathum Thani province, together with 10 experts in the development and transmission of aging-related wisdom. The research tools used were unstructured in-depth interviews and a group discussion. The IOC consensus values were from 0.6–1.0. The data analysis applied content analysis.The results showed that: (1) In the field of arts and crafts, there is embroidering Sabai Mon and Mon cloth. Similarly, in the sphere of arts and culture, there are a hundred monks, Lam Pa Khao San, and Loi Krathong festivals. Additionally,in the study of agriculture, there is farming combined with fish farming, and for the education segment, there is educating the children, the youth, and the people. The policy proposal for social innovation development was to create values for the aging consisting of 3 issues: (1)Organizing systems and mechanisms for agencies are roles in strengthening the aging in self-development and ready to transfer wisdom with eight measures; (2) Promoting and developing the potential of people of all ages to be competent by using learning resources and wisdom of the aging with six measures; and (3) Promoting family and community networking for working together for the wisdom for youths with six measures.รายการ การพัฒนาระบบ e-Certificate ของศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม(2564-02-15) กรกฎ ผกาแก้ว; Korakot Pakakaewการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาระบบ e-Certificate ของศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม และ 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจในการใช้งานระบบ e-Certificate ของศูนย์สนับสนุนและพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ระบบ e-Certificate ซึ่งมีการออกแบบระบบโดยใช้กรอบแนวคิดตามวิธี SDLC และพัฒนาระบบในรูปแบบของ Web Application ด้วย Google Form และใช้ส่วนเสริม Add-ons Certify'emเป็นบริการของ Google ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของโปรแกรมเดิมให้สูงขึ้น รวมทั้งประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานที่มีต่อระบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า ระบบที่ พัฒนาขึ้นสามารถช่วยลดขั้นตอนและระยะเวลาในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังช่วยลดความผิดพลาดของข้อมูล และเป็นการลดการใช้ทรัพยากรอีกทางหนึ่ง และยังช่วยลดต้นทุนค่าใช้จ่ายในการผลิตอีกด้วย และได้มีการสำรวจความพึงพอใจจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 50 คน ได้ให้ความเห็นว่า ระบบ e-Certificate มีประโยชน์เป็นอย่างมาก และมีความพึงพอใจในความสวยงาม และน่าสนใจของรูปแบบ e-Certificate การเข้าถึงระบบทำได้ง่ายและรวดเร็ว การจัดรูปแบบของระบบง่ายต่อการใช้งาน ความพึงพอใจ ภาพรวมค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.84 ซึ่งอยู่ในระดับมากที่สุด และมีค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.38