โลโก้ที่เก็บ
  • ไทย
  • English
  • เข้าสู่ระบบ
    ผู้ใช้ใหม่? คลิกที่นี่เพื่อลงทะเบียน คุณลืมรหัสผ่านของคุณ?
โลโก้ที่เก็บ
  • ชุมชนและคอลเลคชัน
  • SPU-IR ทั้งหมด
  • ไทย
  • English
  • เข้าสู่ระบบ
    ผู้ใช้ใหม่? คลิกที่นี่เพื่อลงทะเบียน คุณลืมรหัสผ่านของคุณ?
  1. หน้าหลัก
  2. เรียกดูตามผู้แต่ง

กำลังเรียกดู โดย ผู้เขียน "Suparoek Chootongchai"

ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
  • กำลังโหลด...
    รูปภาพขนาดย่อ
    รายการ
    Innovative E-learning Platform for Educational Services in Kunnatee Ruttharam Wittayakhum School
    (Journal of Science and Technology Thonburi University, 2564-05-12) Maytawee Dachai; Paralee Maneerat; Suparoek Chootongchai; Papada Pitchayachananon
    การจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา ผู้สอนส่วนใหญ่เน้นให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ผ่านห้องเรียน และแม้จะมีการนำ เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ร่วมด้วยบ้าง เช่น การสร้างห้องเรียนอีเลิร์นนิง แต่รูปแบบการนำอีเลิร์นนิงมาใช้นั้น เป็นการสร้าง แหล่งสืบค้นไว้ให้ผู้เรียนเข้ามาทบทวนเนื้อหาเท่านั้น ปัจจุบันมีการพัฒนาแอปพลิเคชันในหลากหลายแพลตฟอร์มและเป็นที่ นิยม โดยเฉพาะโมบายแอปพลิเคชัน ซึ่งมีบทบาทกับพฤติกรรมของนักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษามากขึ้น ผู้วิจัยจึงนำแนวคิดการสร้างห้องเรียนอิเลิร์นนิงผสานกับโมบายแอปพลิเคชัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิงโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ตามความต้องการของผู้สอนและผู้เรียน และเพื่อทดสอบการยอมรับแอปพลิเคชันแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิงของผู้สอนและผู้เรียน ขั้นตอนในการทำวิจัยครั้งนี้ ได้กำหนดเป็น 4 ระยะคือ ระยะที่ 1 เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ออกแบบระบบ ระยะที่ 2 พัฒนาแอปพลิเคชันแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิง ระยะที่ 3 การทดสอบประสิทธิภาพและทดลองใช้ระบบ ระยะที่4 ประเมินการยอมรับของผู้ใช้งาน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 20 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยให้เรียนด้วยวิธีการเรียนการสอนบนแอปพลิเคชันแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิง โดยใช้ปัญหาเป็นฐานวัดผลการเรียนรู้บนแอปพลิเคชันแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิง และประเมินการยอมรับของผู้ใช้งาน ผลการวิจับพบว่าแอปพลิเคชันแพลตฟอร์มอีเลิร์นนิงเชิงนวัตกรรมส าหรับบริการทางการศึกษา สามารถตอบสนองความต้องการของผู้สอนและผู้เรียนอยู่ในระดับมากที่สุด การประเมินการยอมรับของผู้ใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด และผู้เรียนมีทักษะในศตวรรษที่ 21 เพิ่มขึ้น

สำนักหอสมุด อาคาร 11 ชั้น 4-7 มหาวิทยาลัยศรีปทุม (กทม.) 2410/2 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900

DSpace software

ลิขสิทธิ์ © 2002-2025

  • การตั้งค่าคุกกี้
  • นโยบายความเป็นส่วนตัว
  • ข้อตกลงผู้ใช้
  • ส่งความคิดเห็น