CTH-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู CTH-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ) โดย เรื่อง "ผลกระทบของการบินกับวิกฤติสิ่งแวดล้อม"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ ผลกระทบของการบินกับวิกฤติสิ่งแวดล้อม(Sripatum University และ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2562-08) ธนกร ณรงค์วานิชปัจจุบันคงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าการบิน หรือการเดินทางโดยเครื่องบินเป็นสิ่งจำเป็นในการเดินทาง ไม่ว่าจะเป็นนักท่องเที่ยว นักธุรกิจพันล้าน นิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือประชาชนทั่วไป เหตุเพราะค่าโดยสารในปัจจุบันโดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำ มีราคาถูกมาก ซึ่งทุกคนทุกระดับสามารถเข้าถึงได้ เหตุที่เป็นที่นิยมเพราะการเดินทางโดยเครื่องบินหรือการขนส่งสินค้าทางอากาศใช้เวลาน้อยกว่าการเดินทางแบบอื่น จึงถือได้ว่า อุตสาหกรรมการบินมีความเจริญเติบโตมาก แต่อุตสาหกรรมการบินก็เป็นตัวการที่ก่อให้เกิดผลกระทบ เกิดวิกฤติต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน ที่สำคัญจะมี 2 ประการ 1. ผลกระทบทางเสียงหรือมลภาวะภทางเสียง (Noise Pollution) คือ มีค่าระดับของความดังของเสียงเกินกว่าระดับที่ร่างกายมนุษย์จะรับได้ ทำให้มีผลกระทบโดยตรงต่อชีวิต ความเป็นอยู่ประจำวัน และเกิดผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ 2. ผลกระทบอันเกิดจากไอเสียของเครื่องบิน (Aircraft Engine Emissions) โดยไอเสียที่เครื่องบินปล่อยออกมาส่วนใหญ่ คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และทำให้คุณภาพของอากาศเปลี่ยนไป (Climate Change)รายการ ผลกระทบของการบินกับวิกฤติสิ่งแวดล้อม(Sripatum University และ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2562-08-31) ธนกร ณรงค์วานิชปัจจุบันคงไม่มีใครปฏิเสธได้ว่าการบิน หรือการเดินทางโดยเครื่องบินเป็นสิ่งจาเป็นในการเดินทาง ไม่ว่าจะเป็นนักท่องเที่ยว นักธุรกิจพันล้าน นิสิต นักศึกษา นักเรียน หรือประชาชนทั่วไป เหตุเพราะค่าโดยสารในปัจจุบันโดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่า มีราคาถูกมาก ซึ่งทุกคนทุกระดับสามารถเข้าถึงได้ เหตุที่เป็นที่นิยมเพราะการเดินทางโดยเครื่องบินหรือการขนส่งสินค้าทางอากาศใช้เวลาน้อยกว่าการเดินทางแบบอื่น จึงถือได้ว่า อุตสาหกรรมการบินมีความเจริญเติบโตมาก แต่อุตสาหกรรมการบินก็เป็นตัวการที่ก่อให้เกิดผลกระทบ เกิดวิกฤติต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเช่นกัน ที่สาคัญจะมี 2 ประการ 1. ผลกระทบทางเสียงหรือมลภาวะภทางเสียง (Noise Pollution) คือ มีค่าระดับของความดังของเสียงเกินกว่าระดับที่ร่างกายมนุษย์จะรับได้ ทาให้มีผลกระทบโดยตรงต่อชีวิต ความเป็นอยู่ประจาวัน และเกิดผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายและจิตใจ 2. ผลกระทบอันเกิดจากไอเสียของเครื่องบิน (Aircraft Engine Emissions) โดยไอเสียที่เครื่องบินปล่อยออกมาส่วนใหญ่ คือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (Co2) ซึ่งมีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน และทาให้คุณภาพของอากาศเปลี่ยนไป (Climate Change)