ดนตรีเพื่อเสริมสร้างจินตนาการ

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2550-09-24

ผู้เขียน

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

โลกวันนี้ นสพ.,

เชิงนามธรรม

การศึกษาผลกระทบของเพลงโมสาทนั้นเริ่มมีการศึกษาในฝรั่งเศสในปลายปี 1950 โดย อัลเฟรด โทมาทิส (Alfred Tomatis) เริ่มจากการทดลองของเขาที่เกี่ยวข้องกับการฟังในเด็กที่มีปัญหาทางด้านการพูด และการสื่อสารนับแต่นั้นมาก็มีศูนย์วิจัยต่าง ๆ ทั่วโลกใช้เพลงของโมสาทต์ที่มีความถี่ของเสียงสูงโดยเฉพาะไวโอลินคอนแชโต้ (violin concertos) และซิมโพนี (symphonies) เพื่อช่วยรักษาเด็กที่มีอาการออทิสซึม (autism) ซึ่งมีความผิดปกติในด้านพัฒนาการทำให้มีปัญหาทางด้านการสื่อสารและเด็กที่มีปัญหาในการเรียนการอ่านหรือการพูด (dyslexia)

คำอธิบาย

คำหลัก

Wolfgang Amadeus Mozart, Mozart effect, The Mozart Effect for Children, K.448, Electroencephalography, EEG, Magnetic Resonance Imaging, MRI, Symphonies, Direkkhunakon, สิปาง, ดิเรกคุณากร

การอ้างอิง

คอลเลคชัน