ความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงินและประโยชน์ของงบการเงินรูปแบบใหม่ที่มีคุณค่าต่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน

dc.contributor.authorรองเอก วรรณพฤกษ์en_US
dc.contributor.authorพรรณทิพย์ อย่างกลั่นen_US
dc.date.accessioned2560-05-17T17:43:30Z
dc.date.available2017-05-17T17:43:30Z
dc.date.issued2556-04-21
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน และประโยชน์ของงบการเงินรูปแบบใหม่ที่มีคุณค่าต่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงความเข้าใจและความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน และเพื่อศึกษาถึงประโยชน์ของงบการเงินรูปแบบใหม่ที่มีคุณค่าต่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน จากการศึกษาพบว่าผู้ทำบัญชีที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุตั้งแต่ 30 ถึง 40 ปี การศึกษาอยู่ในระดับสูงกว่าปริญญาตรี มีประสบการณ์ทำงานมากกว่า 9 ปีขึ้นไป และดำรงตำแหน่งในระดับผู้จัดการเป็นส่วนใหญ่ โดยผู้ทำบัญชีมีความเข้าใจในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน และผู้ทำบัญชีมีความคิดเห็นเฉลี่ยรวมต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน ในระดับ “ เห็นด้วยมาก” สำหรับผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่า ผู้ทำบัญชีที่มีเพศและระดับการศึกษาแตกต่างกัน จะมีความคิดเห็นต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน เกี่ยวกับนิยามคำศัพท์แตกต่างกัน และผู้ทำบัญชีที่มีประสบการณ์ทำงานที่แตกต่างกันจะมีความคิดเห็นต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน เกี่ยวกับการนำเสนองบกระแสเงินสดแตกต่างกัน รวมทั้งผู้ทำบัญชีที่มีอายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่งงานที่แตกต่างกันจะมีความเข้าใจในมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงินที่แตกต่างกัน อีกทั้งไม่พบความสัมพันธ์ระหว่างความเข้าใจของผู้ทำบัญชีกับความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงิน นอกจากนั้นจากผลการสัมภาษณ์พบว่าผู้ทำบัญชีมีความเห็นกับรูปแบบการนำเสนองบการเงินแบบใหม่ในเชิงบวกแม้จะมีปัญหาความยุ่งยากในการหาข้อมูลเพื่อนำเสนองบการเงินซึ่งกระทบต่อระยะเวลาการนำเสนองบการเงินที่นานขึ้น อย่างไรก็ตามควรมีการศึกษาเพิ่มเติมโดยสอบถามข้อมูลกับผู้ใช้งบการเงินในอุตสาหกรรมประเภทต่าง ๆ ถึงประโยชน์และอุปสรรคจากข้อมูลในงบการเงินในแนวทางปฏิบัติต่อไปen_US
dc.description.sponsorshipSripatum Universityen_US
dc.identifier.citationรองเอก วรรณพฤกษ์ และพรรณทิพย์ อย่างกลั่น. (2556). ความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงินและประโยชน์ของงบการเงินรูปแบบใหม่ที่มีคุณค่าต่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงิน. ในการประชุมวิชาการสาขาบริหารธุรกิจและการบัญชีครั้งที่ 1 วันที่ 21-22 เมษายน 2556 (น.142). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.en_US
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/5133
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์en_US
dc.subjectมาตรฐานการบัญชีen_US
dc.subjectการนำเสนองบการเงินen_US
dc.titleความคิดเห็นของผู้ทำบัญชีที่มีต่อมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 1 (ปรับปรุง 2552) เรื่อง การนำเสนองบการเงินและประโยชน์ของงบการเงินรูปแบบใหม่ที่มีคุณค่าต่อการตัดสินใจของผู้ใช้งบการเงินen_US
dc.title.alternativeA STUDY OF ACCOUNTANT’S OPINION ON THAI ACCOUNTING STANDARD NO.1 (REVISED 2009) “PRESENTATION OF FINANCIAL STATEMENTS” AND THE BENEFITS OF NEW FORMAT OF FINANCIAL STATEMENTS FOR DECISION MAKERSen_US
dc.typeArticleen_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
spu_conference kaset-TAS no.1_rongek.pdf
ขนาด:
685.21 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: