เรขาคณิตนอนยูคลิดในงานสถาปัตยกรรม: การประยุกต์อาคารท้องฟ้าจำลอง
กำลังโหลด...
วันที่
2561
ผู้เขียน
ชื่อวารสาร
วารสาร ISSN
ชื่อหนังสือ
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เชิงนามธรรม
องค์ความรู้ใหม่ในเรื่องเรขาคณิตเศษส่วน รวมถึงเรขาคณิตเหนือมิติ เช่น ลูกบาศก์ ระนาบเหนือมิติแถบโมบิอุส หรือขวดแบบไคลน์ ฯลฯ เป็นส่วนหนึ่งของการเปลี่ยนแปลงตวามเข้าใจ หรือโลกทัศน์ของมนุษย์ต่อระบบของสิ่งมีชีวิตและธรรมชาติในแนวเดียวกับทฤษฏีทางวิทยาศาสตร์แบบใหม่อื่นๆมนุษย์เริ่มเข้าใจว่าธรรมชาติว่าธรรมชาติที่ดำรงอยู่มิได้วางอยู่บนระบบเรขาคณิตแบบยูคลิดที่เรียบง่ายเพราะระบบยูคลิดนั้นวางอยู่บนระบบสามมิติที่แบนและเป็นอุดมคติทำให้สิ่ง
ประดิษฐ์ และสร้างสรรค์จากมนุษย์จึงเป็นเรขาคณิตบนรูปทรงบริสุทธิ์มาโดยตลอด
ระบบเรขาคณิตแบบนอนยูคลิดได้เปิดโอกาศให้ได้ทดลองเพื่อก้าวพ้นขีดจำกัดของเรขาคณิตแบบยูคลิดหรือรูปทรงต้นแบบเพลโตที่มีเพียงไม่กี่รูปแบบเมื่อยิ่งมีองต์ความรู้ทางคณิตศาสตร์เหล่าที่ได้การสนับสนุนจากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการสร้างรูปทรงที่ซับซ้อนได้อย่างแม่นยำรวดเร็วทำให้พื้นที่ของการสร้างสรรค์สถาปัตยกรรมกว้างมากขึ้น และในอีกทางหนึ่งของงานชิ้นคือ เลือกจะทำกับทฤษฎีของเรื่องจักรราศีม ดวงดาว,จักรวาล การศึกษาจึงควบคู่ไประหว่างนอนยูคลิดกับดาราศาสตรื โดยมีนอนยูคลิดเป็นเครื่องมือ และมีเรื่องดาราศาสตร์เป็นวัตถุดิบ
ซึ่งเราจะได้ตัวแบบทดลองที่จะนำไปใช่ในการออกแบบได้แล้ว จากการทดลอง ที่นี้อยู่แต่ละตัวอย่างก็มีข้อดีที่ต่างกันไป จึงคิดว่าจะเลือกใช้ตามฟังชั่นที่มีในตัวงานเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในตัว และคาดหวังว่ามันจะสามารถสื่อสารกับผู้ใช้งานได้ แล้วสร้างความเข้าใจที่ถูกต้องกับผู้ใช้ได้
คำอธิบาย
วิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรม หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
คำหลัก
ระบบนอนยูคลิด, Non-Euclid, สถาปัตยกรรมแห่งความซับซ้อน, Architecture Of Complexity, โฟลด์ และสถาปัตยกรรมแบบโฟลด์
การอ้างอิง
วรชิต มณีโชติ. 2561. "เรขาคณิตนอนยูคลิดในงานสถาปัตยกรรม: การประยุกต์อาคารท้องฟ้าจำลอง." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.