ความท้าทายในการจัดเก็บข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีชีวมาตรกับมิติของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2562

dc.contributor.authorสุพล พรหมมาพันธุ์, อำนาจ วังจีนth_TH
dc.date.accessioned2566-01-14T07:04:58Z
dc.date.available2023-01-14T07:04:58Z
dc.date.issued2565-10-27
dc.descriptionด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคลมีหลายช่องทาง หลากหลายวัตถุประสงค์ โดยเฉพาะการจัดเก็บข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีชีวมาตร ได้แก่ การจัดเก็บลายพิมพ์นิ้วมือ ภาพถ่าย ฝ่ามือ ม่านตา ใบหน้า เสียงพูด ลายเซ็น ดีเอ็นเอ เป็นต้น ดังนั้น จึงเป็นความท้าทายอย่างมาก และอาจมีความเสี่ยงต่อการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล เพราะว่าพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลปี 2562 ได้มีผลบังคับใช้แล้ว เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2565th_TH
dc.description.abstractDue to current Information Technology has changed rapidly. There are many ways to collect Personal Information. various purposes especially for data storage using Biometric Technology, including storing fingerprints, photographs, palms, iris, faces, speech, signatures, DNA, etc. So it's a huge challenge of government agencies and businesses, and may be at risk of infringing on privacy rights. Because, the Personal Data Protection Act of 2019 came into effect on June 1, 2022. The objectives of this article are: (1). To study the purpose of collecting personal data by using Biometric Technology, (2). To study and analyze the challenges of using Biometric Technology with dimensions of the Personal Data Protection Act of 2019, (3). To make the public know how to protect personal information and information security, and (4). To prevent individuals and organizations from committing illegal acts. After analyzing the study, it was concluded that government agencies and the business sector should only store personal data as needed and should have good security measures as well.th_TH
dc.description.sponsorshipSripatum Universityth_TH
dc.identifier.citationสุพล พรหมมาพันธุ์ (2563) การพิสูจน์ตัวตนด้วยเทคโนโลยีชีวมาตรกับความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, วารสารแพทยสารทหารอากาศ 66 (1) หน้า 32-42th_TH
dc.identifier.issnSPUCON2022
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/8977
dc.language.isothth_TH
dc.publisherSripatum Universityth_TH
dc.relation.ispartofseries1211th_TH
dc.relation.ispartofseries1211th_TH
dc.subjectความเป็นส่วนตัว, ข้อมูลส่วนบุคคล, เทคโนโลยีชีวมาตร, ความมั่นคงปลอดภัยth_TH
dc.subjectPrivacy, Personal Data, Biometric Technology, Securityth_TH
dc.titleความท้าทายในการจัดเก็บข้อมูลโดยการใช้เทคโนโลยีชีวมาตรกับมิติของพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ปี 2562th_TH
dc.title.alternativeพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data Protection: PDPA) กับเทคโนโลยีชีวมาตรth_TH
dc.typeArticleth_TH

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
5. บทความ _ความท้าทายในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล.pdf
ขนาด:
391.66 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย:

คอลเลคชัน