การพัฒนาแบบจาลองการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินสาหรับธุรกิจ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
dc.contributor.author | ณฐภศา เดชานุเบกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2563-03-27T10:09:18Z | |
dc.date.available | 2020-03-27T10:09:18Z | |
dc.date.issued | 2562-12 | |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาตัวแปรอัตราส่วนทางการเงิน ตัวแปรสัมพันธ์กับมูลค่าทางการตลาด และคุณลักษณะของธุรกิจที่สามารถพยากรณ์การพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินของธุรกิจ (2) เพื่อพัฒนาแบบจาลองการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินสาหรับธุรกิจ 3) เพื่อทดสอบอิทธิพลเชิงสาเหตุของตัวแปรพยากรณ์ผลการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินจากแบบจาลองที่พัฒนาขึ้นต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ งานวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน ( Mixed method)ระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ และเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีแบบจับคู่ ( Matched pair) ระหว่างบริษัทที่มีปัญหาทางการเงินและเป็นบริษัทที่ไม่มีปัญหาทางการเงิน และดาเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ โดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) ผลการวิจัยตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ การพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินของธุรกิจและการพัฒนาแบบจาลองการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินสาหรับธุรกิจโดยการวิเคราะห์ถดถอยโลจิสติกส์ พบว่า ตัวแปรอัตราส่วนทางการเงิน ได้แก่ อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนสุทธิต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนหมุนเวียนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน อัตราส่วนผลตอบแทนจากสินทรัพย์ อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น ตัวแปรตัวแปรสัมพันธ์กับมูลค่าทางการตลาด คือ มูลค่าตลาดของสินทรัพย์ต่อจุดผิดนัดชาระหนี้ และตัวคุณลักษณะของธุรกิจ คือขนาดธุรกิจ มีอิทธิพลในการพยากรณ์และพัฒนาแบบจาลองการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินสาหรับธุรกิจ โดยแบบจาลองมีความแม่นยาถึงร้อยละ 82.70 ส่วนผลการทดสอบตัวแปรอิทธิพลของผลการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินจากแบบจาลองที่พัฒนาขึ้นต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ โดยการใช้การวิเคราะห์เส้นทาง (Path analysis) พบว่า ตัวแปรเชิงสาเหตุในแบบจาลองที่ส่งผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อผลตอบแทนหลักทรัพย์ ประกอบด้วย อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนสุทธิต่อสินทรัพย์รวม อัตราส่วนหมุนเวียนสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน มูลค่าตลาดของสินทรัพย์ต่อจุดผิดนัดชาระหนี้ ส่วนขนาดธุรกิจมีนัยสาคัญ เพียงการส่งผลในทางตรงต่อผลตอบแทนหลักทรัพย์ ทั้งนี้ ผลในภาพรวม พบว่า แบบจาลองเชิงสาเหตุมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์โดยมีค่าความสอดคล้องผ่านเกณฑ์ความสอดคล้องทุกค่า พร้อมทั้งผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้เชี่ยวชาญทั้งหมดเห็นด้วยกับผลการวิจัยเชิงปริมาณที่พัฒนาขึ้น | th_TH |
dc.identifier.citation | ณฐภศา เดชานุเบกษา,ณัฐสพันธ์ เผ่าพันธ์. (2562).การพัฒนาแบบจาลองการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินสาหรับธุรกิจ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิทยาลัยพาณิชยศาสตร์บูรพาปริทัศน์. 4 (2). น.143 -158. ชลบุรี : วิทยาลัยพาณิชยศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. | th_TH |
dc.identifier.issn | 1685-2354 | |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6625 | |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยบูรพา | th_TH |
dc.subject | การพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงิน | th_TH |
dc.subject | อัตราส่วนทางการเงิน | th_TH |
dc.subject | ตัวแปรสัมพันธ์กับมูลค่าทางการตลาด | th_TH |
dc.subject | คุณลักษณะของธุรกิจ | th_TH |
dc.title | การพัฒนาแบบจาลองการพิจารณาความน่าเชื่อถือทางการเงินสาหรับธุรกิจ จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | th_TH |
dc.title.alternative | THE DEVELOPMENT OF THE CREDIT SCORING MODEL FOR COMPANIES LISTED ON THE STOCK EXCHANGE OF THAILAND | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |