วิธีอย่างง่ายวิธีใหม่ในการวัดค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน สำหรับลวดอัดแรงดึงทีหลัง

dc.contributor.authorฉัตร สุจินดาen_US
dc.date.accessioned2556-05-12T23:03:33Z
dc.date.available2556-05-12T23:03:33Z
dc.date.issued2556-05-09
dc.descriptionConference Paperen_US
dc.description.abstractบทความนี้กล่าวถึงวิธีการวัดค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานที่เกิดขึ้นระหว่างลวดอัดแรงชนิดตีเกลียวและท่อร้อยลวด ทั้งแบบที่เกิดจากความคดและความโค้ง โดยการเก็บค่าแรงดึงของลวดที่ปลายที่ดึงลวด และระยะยืดของลวดแต่ละเส้น เพื่อนำมาใช้หาค่าแรงดึงเฉลี่ยตลอดความยาวเส้นลวดจากสมการความสัมพันธ์ของระหว่างหน่วยแรงและหน่วยการยืดตัวของเส้นลวดแบบเชิงเส้นไม่ตรง และคำนวณความยาวและความโค้งรวมของลวดแต่ละเส้นจากแบบก่อสร้าง เพื่อให้เหมือนกับการคำนวณในขั้นตอนออกแบบ และได้ค่าสัมประสิทธิ์ที่มีการปรับแก้ความเพี้ยนของตำแหน่งการวางลวดเมื่อเทียบกับแบบก่อสร้างไว้แล้ว จากการทดลองวัดและคำนวณค่าดังกล่าวของเส้นลวดอัดแรงที่ใช้ท่อร้อยลวดสำหรับอัดฉีดน้ำปูนเพื่อให้เกิดแรงยึดเหนี่ยวชนิดที่ม้วนตีเกลียวมาจากแผ่นเหล็กชุบสังกะสีจำนวน 470 เส้น จากสถานที่ก่อสร้างจริง พบว่าได้สัมประสิทธิ์ความคดมีค่าเท่ากับ 0.0035 ต่อฟุต (1.758 ต่อเมตร) และได้ค่าสัมประสิทธิ์ความโค้งมีค่าเท่ากับ 0.536 ต่อเรเดียน ซึ่งค่าทั้งสองมากกว่าที่แนะนำไว้ในมาตรฐาน ACI318-11 อย่างมีนัยสำคัญ This article describes the new method of measuring the friction coefficient between prestressing strands and their conduits which are related to both wobble and curvature. The method requires both measured jacking force and elongation of each strand so the average tension along the entire length can be determined from non-linear stress-strain relationship. The total length and total curvature of each strand were calculated from shop drawing to simulate the friction calculation in the design process. The determined friction coefficients will include the effect due to misplace of the conduit layouts. From the experimental measurement of 470 bonded system strands with spiral galvanized metal sheet conduits from the actual construction site, the wobble coefficient is 0.0035 per foot (1.758 per meter) and the curvature coefficient is 0.536 per radian. Both coefficients are significantly higher than those recommended by ACI318-11 standard.en_US
dc.description.sponsorshipSPUen_US
dc.identifier.citationNCE18en_US
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4236
dc.language.isootheren_US
dc.publisherNCCEen_US
dc.relation.ispartofseriesSTR-096en_US
dc.relation.ispartofseriesNCCE18en_US
dc.subjectสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานen_US
dc.subjectลวดอัดแรงแบบตีเกลียวen_US
dc.subjectวิธีการวัดค่าen_US
dc.subjectFriction coefficienten_US
dc.subjectPrestressing strandsen_US
dc.subjectMeasurement methoden_US
dc.titleวิธีอย่างง่ายวิธีใหม่ในการวัดค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน สำหรับลวดอัดแรงดึงทีหลังen_US
dc.title.alternativeA New Simple Method for Post-tension Strands Friction Coefficient Measurementen_US
dc.typeTechnical Reporten_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
NCCE 18 Full Paper Chatr Suchinda v2.1 (Final version).pdf
ขนาด:
423.63 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
คำอธิบาย:
Full Paper
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
STR096_Chatr Suchinda.pptx
ขนาด:
383.75 KB
รูปแบบ:
Microsoft Powerpoint
คำอธิบาย:
Powerpoint Presentation
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.72 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย:

คอลเลคชัน