การลดของเสียในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ไนลอน

dc.contributor.authorสุพัฒตรา ศรีญาณลักษณ์* และ ปัณณาภัสส์ ปุณณภาศศิภัสth_TH
dc.date.accessioned2567-07-15T09:32:14Z
dc.date.available2024-07-15T09:32:14Z
dc.date.issued2567-06-01
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ไนลอน โดย ประยุกต์ใช้ผังก้างปลา (Fishbone Diagram) วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา แผนผังพาเรโต้ (Pareto) จัดลาดับ ความสาคัญของปัญหา ใช้หลักการ ECRS และการออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียล (Factorial Design) ปรับปรุงกระบวนการทางาน จากการเก็บและวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าของเสียเกิดขึ้นมากที่สุดที่เลือกมาปรับปรุง คือ เส้นด้ายขาดระหว่างการผลิต (Yarn Break) และของเสียจากการเปลี่ยนตัวกรองพอลิเมอร์ (Pack Change) จาก การใช้ผังก้างปลาและการระดมสมอง พบว่า สาเหตุหลักของ Yarn Break เกิดจาก (1) ท่อ Exhaust Monomer ตัน (2) ลูกกลิ้ง (Godet Roller) สกปรก และ (3) ทางผ่านเส้นด้าย (Yarn Path) ชารุด ทาการปรับปรุง ระเบียบวิธี ปฏิบัติงาน (Work Instruction: WI) จัดทาใบตรวจสอบ และกาหนดช่วงเวลา (Interval) ในการตรวจสอบลูกกลิ้ง ส่วนสาเหตุหลักของ Pack Change เกิดจากไม่มีระเบียบวิธีปฏิบัติงาน และประกอบตัวกรองพอลิเมอร์ไม่ถูกต้อง ตามมาตรฐาน ทาการปรับปรุงโดย ปรับลดเวลาในขั้นตอนการทางาน และจัดทาระเบียบวิธีปฏิบัติงาน และ ออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียล เพื่อหารอบที่เหมาะสมในการเปลี่ยนตัวกรองพอลิเมอร์ ผลลัพธ์จากการ ปรับปรุงพบว่าเปอร์เซ็นต์ของเสียลดลงจาก 6.51% เป็น 5.84% สามารถลดต้นทุน 199,800 บาทต่อปี และขยาย ผลวิธีการปรับปรุงไปยังแผนกอื่นได้th_TH
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/9808
dc.language.isothth_TH
dc.subjectการลดของเสีย 7QC Tools, ECRS การออกแบบการทดลองเชิงแฟกทอเรียล กระบวนการผลิตเส้นใย สังเคราะห์ไนลอนth_TH
dc.titleการลดของเสียในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ไนลอนth_TH
dc.typeArticleth_TH

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
05 บทความที่ได้รับการตีพิมพ์แล้ว.pdf
ขนาด:
1.96 MB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: