Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเอกชัย ขะมานาม นายนรุตน์ เชี่ยวชาญ นายสามารถ กล่อมเกลี้ยงen_US
dc.contributor.authorสุทธิ์เสวก รัตนสุภาen_US
dc.contributor.authorนรุตน์ เชี่ยวชาญen_US
dc.contributor.authorสามารถ กล่อมเกลี้ยงen_US
dc.date.accessioned2017-02-04T07:01:41Z-
dc.date.available2017-02-04T07:01:41Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.citationเอกชัย ขะมานาม, นรุตน์ เชี่ยวชาญ, สามารถ กล่อมเกลี้ยง, และสุทธิ์เสวก รัตนสุภา. 2552. "การพัฒนาแท่งรากสายดินชนิดความต้านทานต่ำ." ผลงานนักศึกษาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4798-
dc.descriptionหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.description.abstractโครงงานนี้เป็นการพัฒนาแท่งรากสายดินชนิดความต้านทานต่ำ ด้วยการห่อหุ้มตัวลดความต้านทานเข้ากับแท่งหลักดิน โดยพิจารณาผลของขนาดและตำแหน่งที่เหมาะสมของตัวลดความต้านทานดิน ซึ่งตัวลดความต้านทานดินมีอัตราส่วนผสมระหว่าง กากโลหะ : ซีเมนต์ :น้ำ : เกลือ ในอัตราส่วน (1:0.4: 0.3:0.12) จากนั้นนำไปทดสอบปักลงในดินบริเวณที่มีความต้านทานจำเพาะสูง ด้วยการหล่อตัวลดความต้านทานห่อหุ้มแท่งตัวนำ 3 ตำแหน่ง คือ บน กลาง และล่างของแท่งหลักดิน แล้วนำไปทดสอบในพื้นที่ควบคุมโดยให้ปราศจากน้ำฝน จากผลการทดสอบด้วยการวัดความต้านทานดินพบว่าแท่งรากสายดินชนิดความต้านทานต่ำที่ถูกห่อหุ้มด้วยตัวลดความต้านทานที่ตำแหน่งล่าง จะให้ค่าความต้านทานดินมีค่าต่ำสุด ดังนั้นจึงสรุปได้การลดความต้านทานดินด้วยวิธีการหล่อตัวลดความต้านทานห่อหุ้มแท่งตัวนำปกติสามารถนำไปใช้กับดินที่มีสภาพความต้านทานสูงหรือดินภูเขาได้en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseries51EE101en_US
dc.subjectความต้านทานจำเพาะของดินen_US
dc.subjectคุณสมบัติทางไฟฟ้าของคอนกรีตen_US
dc.titleการพัฒนาแท่งรากสายดินชนิดความต้านทานต่ำen_US
dc.title.alternativeLow Resistance Grounding Rod Developmenten_US
dc.typeOtheren_US
Appears in Collections:EGI-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
หน้าปก.pdf91.98 kBAdobe PDFView/Open
บทที่ 1.pdf110.84 kBAdobe PDFView/Open
บทที่ 2.pdf506.33 kBAdobe PDFView/Open
บทที่ 3.pdf227.43 kBAdobe PDFView/Open
บทที่ 4.pdf545.29 kBAdobe PDFView/Open
บทที่ 5.pdf75.65 kBAdobe PDFView/Open
ภาคผนวก.pdf221.7 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.