Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6052
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorบุศญา บุญอนันต์en_US
dc.date.accessioned2019-03-08T04:10:48Z-
dc.date.available2019-03-08T04:10:48Z-
dc.date.issued2562-03-08-
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6052-
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาเขตชลบุรีen_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของ พนักงาน 2) เพื่อศึกษาระดับความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยประชากรศาสตร์ ที่มีผลต่อปัจจัยแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงาน 4)เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร 5) เพื่อศึกษาปัจจัยแรงจูงใจ ที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันของพนักงานต่อองค์กร และ 6) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยแรงจูงใจ กับความผูกพันของพนักงานต่อองค์กรโดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นพนักงานของบริษัทญี่ปุ่นผลิตเม็ดพลาสติกในเขตนิคมอมตะจังหวัดชลบุรี จานวน 334 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัจจัยแรงจูงใจในการทางาน โดยรวมอยู่ในระดับมากโดยเฉพาะ ด้านลักษณะงานอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความผูกพันต่อองค์การโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยมี 2 ปัจจัยที่อยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านความศรัทธาและยอมรับในเป้าหมาย และด้านคุณค่าขององค์กร 3) อายุและระยะเวลาปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนเพศและตาแหน่งงาน ไม่มีผลต่อตัวแปรนี้ 4) ปัจจัยประชากรศาสตร์ได้แก่ เพศ อายุ ระยะเวลาปฏิบัติงาน และตาแหน่งงาน ที่แตกต่างกันมีความผูกพันกับองค์กรแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 5) ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร จากการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยแรงจูงใจมีอิทธิพลต่อความผูกพันต่อองค์กร อย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 6) ปัจจัยแรงจูงใจมีความสัมพันธ์กับความผูกพันขององค์กรในระดับต่ามาก อย่างไม่มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en_US
dc.language.isothen_US
dc.subjectแรงจูงใจen_US
dc.subjectความผูกพันen_US
dc.subjectบุคลากรen_US
dc.titleปัจจัยแรงจูงใจที่ส่งผลต่อความผูกพันของบุคลากรในองค์กรบริษัทญี่ปุ่นผลิตเม็ดพลาสติก ในเขตนิคมอุตสาหกรรมอมตะ จังหวัดชลบุรีen_US
dc.title.alternativeMOTIVATION FACTORS AFFECTING ORGANIZATIONAL COMMITMENT OF POLYMERS JAPANESE COMPANY IN AMATA INDUSTRIAL ESTATE, CHONBURI PROVINCEen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:S_CHO-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
abstract.pdf197.59 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.