Please use this identifier to cite or link to this item: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6398
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยวรรณ ฟักเจริญen_US
dc.date.accessioned2019-09-28T08:52:47Z-
dc.date.available2019-09-28T08:52:47Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.citationยวรรณ ฟักเจริญ. (2562). ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ศึกษากรณีประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ วินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัย. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.en_US
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6398-
dc.descriptionยวรรณ ฟักเจริญ. ปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ศึกษากรณีประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ วินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัย. สารนิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2562.en_US
dc.description.abstractสารนิพนธ์นี้มุ่งศึกษาถึงสภาพปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความผิดวินัยอย่างร้ายแรง (Gross Discipline Breach) ศึกษากรณีประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัยและ การดำเนินการทางวินัย โดยศึกษาถึงความเป็นมา ความหมาย และกฎหมายของประเทศไทยในเรื่องดังกล่าว จากการศึกษาพบว่า ในเรื่องดังกล่าวมีกฎหมายที่เกี่ยวข้องกันอยู่ 2 ฉบับ คือ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับวินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัย ซึ่งพบว่ากฎหมายทั้งสองฉบับนั้นยังไม่มีคำนิยาม และหลักการในการพิจารณาการกระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรงเอาไว้อย่างชัดเจน มีเพียงการวางหลักอย่างกว้าง ๆ ไว้ จึงเป็นการเปิดช่องว่างให้ผู้บังคับบัญชา (Commander) อาจกระทำการโดยไม่สุจริตได้ ซึ่งส่งผลเสียแก่พนักงานเทศบาลที่กระทำความผิด และในเรื่องการมีส่วนได้เสียในการสอบสวนของคณะกรรมการสอบสวนวินัยต่อพนักงานเทศบาลที่ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยอย่างร้ายแรง โดยผู้ซึ่งทำหน้าที่ในการสอบสวนทางวินัย (Disciplinary Investigation) ควรที่จะวางตัวเป็นกลาง ในฐานะที่เป็นองค์กรเจ้าหน้าที่ผู้ทำหน้าที่ในการพิจารณา ซึ่งจะต้องมีบทบาทในการรับฟังข้อเท็จจริงจากคู่กรณีทั้งสองฝ่าย จึงอาจเกิดเป็นปัญหาในเรื่องการใช้บังคับกฎหมาย (Law Enforcement) ที่เกี่ยวข้องในเรื่องดังกล่าวen_US
dc.description.sponsorshipหลักสูตรนิติศาสตรมหาบัณฑิต กลุ่มวิชากฎหมายมหาชน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesSPU_ปิยวรรณ ฟักเจริญ_T184563en_US
dc.subjectวินัยข้าราชการen_US
dc.subjectพนักงานเทศบาลen_US
dc.subjectกระบวนการสอบสวนวินัยข้าราชการen_US
dc.subjectการดำเนินการทางวินัยen_US
dc.titleปัญหาทางกฎหมายเกี่ยวกับความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ศึกษากรณีประกาศคณะกรรมการกลางพนักงานเทศบาล เรื่อง มาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ วินัยและการรักษาวินัยและการดำเนินการทางวินัยen_US
dc.title.alternativeLEGAL PROBLEMS REGARDING TO GROSS DISCIPLINE BREACH STUDY : THE CASE OF THE ANNOUNCEMENT OF THE CENTRAL COMMITTEE OF THE MUNICIPAL EMPLOYEES IN GENERAL STANDARDS FOR DISCIPLINE, MAINTENANCE OF DISCIPLINE AND DISCIPLINARY PROCEEDINGSen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:LAW-08. ผลงานนักศึกษา

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
บทความ.pdf244.81 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.