กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6824
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorวนิดา ชุติมากุลth_TH
dc.date.accessioned2020-08-03T03:52:26Z-
dc.date.available2020-08-03T03:52:26Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.citationวนิดา ชุติมากุล. 2555. “ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดทำบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรการเงินและการบัญชี : กรณีศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล.” วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม.th_TH
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/6824-
dc.descriptionตารางth_TH
dc.description.abstractการวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดทำบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรการเงินและการบัญชี : กรณีสึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของตัวแปรที่มีต่อการจัดทำบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบระบบอิเล็กทรอนิกศ์ ได้แก่ ข้อมูลทั้วไปของบุคลากรความรู้และประสบการณ์เกี่ยวกับบัญชีของบุคลากร ความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศของบุคลากร และความสามารถในการปฎิบัติงานด้านการเงินและบัญชีในระบบ GFMIS ของบุคลากร นอกจากนี้ ผู้วิจัยศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการจัดทำบัญชีในระบบดังกล่าว โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ บุคลากรการเงินและการบัญชีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีที่ใช้ระบบ GFMIS ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพในการจัดทำบัญชีในระบบ GFMIS อยู่ในระดับปานกลาง โดยเพศ อายุ จำนวนรายวิชาบัญชีที่ได้ศึกษา รูปแบบการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ของหน่วยงาน การเข้าร่วมสัมมนา/ประชุมด้านบัญชหีที่มีหน่วยงานจัดให้ ความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และความสามารถในการปฎิบัติงานด้านการเงินและบัญชีในระบบ GFMIS กับการจัดทำบัญชีในระบบ GFMIS อย่างมีประสิทธิภาพอย่างมีนัยสำคัญ และมีข้อเสนอแนะการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำบัญชีในระบบ GFMIS ได้แก่ ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ให้ทันสมัยอยู่เสมอ ดพิ่มอุปกรณืต่อพ่วง จัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรอย่างสม่ำเสมอ รวมถึงจัดการอบรมความรู้ด้านการจัดทำบัญชี การบันทึกบัญชีอย่างโปร่งใส และการใช้ระบบ GFMIS เพื่อช่วยลดขั้นตอนการบันทึกข้อมูลและลดความซ้ำซ้อน ซึ่งจะส่งผลให้ทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นth_TH
dc.description.sponsorshipSripatum Universityth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยศรีปทุมth_TH
dc.subjectบริหารการเงินการคลังภาครัฐth_TH
dc.subjectประสิทธิภาพth_TH
dc.subjectการเงินและบัญชีth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการจัดทำบัญชีในระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างมีประสิทธิภาพของบุคลากรการเงินและการบัญชี : กรณีศึกษาในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลth_TH
dc.title.alternativeEFFECTIVE FACTORS ON GOVERNMENT FISCAL MANAGEMENT INFORMATION SYSTEM OF FINANCING AND ACCOUNTING STAFF : A CASE STUDY IN RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGYth_TH
dc.typeThesisth_TH
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:ACC-09. วิทยานิพนธ์ปริญญาโท



รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น