EGI-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู EGI-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ) โดย ผู้เขียน "ชัชวาลย์ พูนลาภพานิช"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะแห้งในกรุงเทพฯ(2555-05-27T15:39:28Z) ชัชวาลย์ พูนลาภพานิช; พลวิท บัวศรีThis paper presents the comparison of dry-process bored pile capacities from static pile load test with the allowable pile capacities calculated from the friction resistance specified by Bangkok Building Codes. The study estimates the ultimate pile capacities using Mazurkiewicz’s method based on 42 static pile load test data of bored piles 0.50 and 0.60 m. diameters which were constructed in central Bangkok area. The comparison indicates that the average factor of safety is 2.26 and the minimum factor of safety is 1.7. The percentage of piles which have factor of safety below 2.0 is 17. This paper also presents a reduction factor equation for estimating the allowable capacity of dry-process bored piles having 19-25 m. pile length.รายการ ข้อแนะนำในการพิจารณาออกแบบความหนาแผ่นพื้นคอนกรีตวางบนดินเพื่อรับน้ำหนักบรรทุกกองเก็บวัสดุ(2555-05-27T15:29:48Z) ชัชวาลย์ พูนลาภพานิชบทความนี้นำเสนอรายละเอียดการออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตวางบนดินเพื่อรับน้ำหนักกองเก็บวัสดุ โดย วิธีของ Portland Cement Association เนื้อหาบทความกล่าวถึง ทฤษฎีที่ใช้ออกแบบ ค่าพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง และ ตัวอย่างผลวิเคราะห์ วิธีออกแบบนี้ใช้หลักการหน่วยแรงใช้งานโดยกำหนดหน่วยแรงที่ยอมให้จากค่ากำลังดัดของ คอนกรีตหารด้วยค่าตัวประกอบความปลอดภัยเท่ากับ 2.0 การวิเคราะห์หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นซึ่ง พิจารณาให้รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ คำนวณโดยสมการผลเฉลยเฉพาะของสมการเชิงอนุพันธ์ที่กำหนดขึ้นจากโจทย์ ปัญหาคานวางบนวัสดุยืดหยุ่น สุดท้ายผลวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าน้ำหนักแผ่ที่ยอมให้ใช้กองเก็บวัสดุกับ คุณสมบัติของแผ่นพื้น คำนวณได้จากการกำหนดเงื่อนไขให้ค่าหน่วยแรงดัดสูงสุดของแผ่นพื้นเท่ากับค่าหน่วยแรง ที่ยอมให้ ผลของการวิเคราะห์ดังกล่าวถูกนำเสนอในรูปตารางช่วยการออกแบบ โดยจัดทำไว้ทั้งกรณีการวาง น้ำหนักบรรทุกแบบไม่จัดวางผัง(Variable Layout) และกรณีการวางน้ำหนักบรรทุกแบบจัดผังตายตัว (Fixed Layout) Abstract