EGI-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู EGI-03. บทความวิชาการ/วิจัย (อื่นๆ) โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 13 ของ 13
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ ข้อแนะนำในการพิจารณาออกแบบความหนาแผ่นพื้นคอนกรีตวางบนดินเพื่อรับน้ำหนักบรรทุกกองเก็บวัสดุ(2555-05-27T15:29:48Z) ชัชวาลย์ พูนลาภพานิชบทความนี้นำเสนอรายละเอียดการออกแบบแผ่นพื้นคอนกรีตวางบนดินเพื่อรับน้ำหนักกองเก็บวัสดุ โดย วิธีของ Portland Cement Association เนื้อหาบทความกล่าวถึง ทฤษฎีที่ใช้ออกแบบ ค่าพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง และ ตัวอย่างผลวิเคราะห์ วิธีออกแบบนี้ใช้หลักการหน่วยแรงใช้งานโดยกำหนดหน่วยแรงที่ยอมให้จากค่ากำลังดัดของ คอนกรีตหารด้วยค่าตัวประกอบความปลอดภัยเท่ากับ 2.0 การวิเคราะห์หน่วยแรงดัดที่เกิดขึ้นในแผ่นพื้นซึ่ง พิจารณาให้รับน้ำหนักบรรทุกแผ่ คำนวณโดยสมการผลเฉลยเฉพาะของสมการเชิงอนุพันธ์ที่กำหนดขึ้นจากโจทย์ ปัญหาคานวางบนวัสดุยืดหยุ่น สุดท้ายผลวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างค่าน้ำหนักแผ่ที่ยอมให้ใช้กองเก็บวัสดุกับ คุณสมบัติของแผ่นพื้น คำนวณได้จากการกำหนดเงื่อนไขให้ค่าหน่วยแรงดัดสูงสุดของแผ่นพื้นเท่ากับค่าหน่วยแรง ที่ยอมให้ ผลของการวิเคราะห์ดังกล่าวถูกนำเสนอในรูปตารางช่วยการออกแบบ โดยจัดทำไว้ทั้งกรณีการวาง น้ำหนักบรรทุกแบบไม่จัดวางผัง(Variable Layout) และกรณีการวางน้ำหนักบรรทุกแบบจัดผังตายตัว (Fixed Layout) Abstractรายการ กำลังรับน้ำหนักบรรทุกของเสาเข็มเจาะแห้งในกรุงเทพฯ(2555-05-27T15:39:28Z) ชัชวาลย์ พูนลาภพานิช; พลวิท บัวศรีThis paper presents the comparison of dry-process bored pile capacities from static pile load test with the allowable pile capacities calculated from the friction resistance specified by Bangkok Building Codes. The study estimates the ultimate pile capacities using Mazurkiewicz’s method based on 42 static pile load test data of bored piles 0.50 and 0.60 m. diameters which were constructed in central Bangkok area. The comparison indicates that the average factor of safety is 2.26 and the minimum factor of safety is 1.7. The percentage of piles which have factor of safety below 2.0 is 17. This paper also presents a reduction factor equation for estimating the allowable capacity of dry-process bored piles having 19-25 m. pile length.รายการ การศึกษาความเป็นไปได้ในการนำน้ำมันยางมาผลิตไบโอดีเซล(2555-08-05T07:23:51Z) ทีปกร คุณาพร; อภิรักษ์ สวัสดิ์กิจ; พิสุทธิ์ รัตนแสนวงศ์; วรพจน์ พันธุ์คงบทความนี้ เป็นการศึกษาการนำน้ำมันยางดิบจากต้นยางซึ่งเป็น พืชน้ำมันชนิดหนึ่ง มาผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซลสำหรับเครื่องยนต์ เพื่อ ใช้เป็นพลังงานทดแทนอีกรูปแบบหนึ่ง ขั้นตอนการศึกษาเริ่มจากการ นำน้ำมันยางดิบที่ได้จากต้นยางมาให้ความร้อนในถังกลั่น จากอุณหภูมิ 27 °C จนเพิ่มขึ้นประมาณ 78 °C น้ำมันยางดิบก็จะเริ่มเดือนและ ระเหยกลายเป็นไอสะสมอยู่ในถังกลั่นจนอุณหภูมิเพิ่มเป็น 270 °C จึง นำไปผ่านชุดคอนเดนเซอร์ เพื่อควบแน่นเป็นของเหลวที่อุณหภูมิห้อง ก็จะได้น้ำมันยางและกากยางซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลจากการก ลั่นพบว่าน้ำมันยางดิบปริมาตร 800 mL. จะผลิตเป็นน้ำมันยางได้ ประมาณ 690 mL. จากนั้นจึงนำน้ำมันยางและน้ำมันดีเซลไปทดลองหา ค่าความร้อนเชื้อเพลิงใน bomb calorimeter เพื่อเปรียบเทียบกันได้ค่า ความร้อนของน้ำมันยางประมาณ 10,000.40 cal/g น้ำมันดีเซล ประมาณ 10,657.60 cal/g ซึ่งใกล้เคียงกันมาก เมื่อนำน้ำมันยางที่ได้ ไปผสมกับน้ำมันดีเซลในสัดส่วน 10% 15% และ 20% โดยปริมาตรจน ได้น้ำมันไบโอดีเซล B10 B15 และ B20 น้ำมันไบโอดีเซลที่ได้นี้ถูกนำ ไปทดลองใช้กับเครื่องยนต์ดีเซล NISSAN 4 สูบ 4 จังหวะ 3,000 ซีซี ที่ ความเร็วรอบต่าง ๆ ระหว่าง 1,000 – 2,100 rpm ในช่วงเวลาการ ทดลองที่เท่ากัน พบว่าการสิ้นเปลืองของน้ำมันไบโอดีเซลจะน้อยกว่า น้ำมันดีเซลเล็กน้อยขึ้นอยู่กับเปอร์เซ็นต์ของส่วนผสม เปอร์เซ็นต์ควัน ดำและค่าความหนืดของไบโอดีเซลจะสูงกว่าน้ำมันดีเซล คำสำคัญ : ไบโอดีเซล / น้ำมันยาง / พืชน้ำมันรายการ ตัวตรวจวัดแสงทวีคูณแบบหลอดสูญญากาศ Photomultiplier tubes: PMT: (ตอน 2)(2555-08-05T14:26:30Z) Sanya Khunkhaoตัวตรวจจับแสงทวีคูณสามารถเปลี่ยนพลังงานของแสงให้เป็นสัญญารทางไฟฟ้า โดยมีการขยายสัญญาณให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมโดยการให้อิเล็กตรอนมีการเพิ่มจำนวนมากขึ้น เมื่ออิเล็กตรอนที่ถูกกระต้นจากแสงจะมีการปลดปล่อยอิเล็กตรอนเข้าสู่ในระบบการตรวจจับ จากนั้นจะทำการปรับโฟกัส และความเร่งของลำอิเล็กตวามเพิ่มขึ้นรายการ ตัวตรวจวัดแสงทวีคูณแบบหลอดสูญญากาศ Photomultiplier tubes: PMT: (ตอน3)(2555-08-05T14:30:50Z) Sanya Khunkhaoตัวตรวจจับแสงทวีคูณแบบสูญญากาศเป็นตัวตรวจจับทางแสงที่มีการตอบสนองทางเวลาที่รวดเร็ว โดยที่การตอบสนองทางเวลาสามารถตรวจพบได้จากเวลาการส่งผ่านเมื่อแสงตกกระทบที่ขั้วคาโทด ก่อให้เกิดการปลดปล่อยอิเล็กตรอนเคลื่อนด้วยความเร่งเข้าสู่ขั้วแอโนดภายหลังจากการทวีคูณ ด้วยการออกแบบตัวตรวจจับแสงทวีคูณมีช่องหน้าต่างรับแสงที่เป็นทรงกลมทำให้ความแตกต่างของเวลาการส่งผ่านต่ำสุด ทำให้การตอบสนองจะรวดเร็วมากรายการ The Strength Reduction Factors for Reinforced Concrete Design Standards Based on Thailand Statistical Data(2555-08-05T15:25:09Z) ฉัตร สุจินดาThe strength reduction factors recommended in the reinforced concrete design standard EIT 1008-38 were adopted from the American ACI318-89 code. These factors were based on the analyses of statistical material and construction quality data collected in USA which may differ from Thailand. It will be more appropriate if these strength reduction factors are selected based on the data collected in Thailand. Nowadays, two sets of strength reductions factored were recommended in the draft building codes: case 1 when good quality of the materials and construction were specified. In this case, the strength reduction factors were totally the same as in the ACI318-99 code. Case 2 when good quality of the material and construction used were not specified. In the latter, 5/6 times of the strength reduction factors recommended in case 1 were used. However, there is no any scientific proof or evidence of the accuracy of this number 5/6. This paper presents brief process and results of structural reliability analyses to select the appropriate strength reduction factors based on the statistical material and construction data collected in Thailand for the case 2 from the other research. From this study, the chosen strength reduction factors are 0.80 for beam flexure, 0.87 for beams shear and 0.62 for tied column axial. These factors were found to be different from those recommended for draft building codes for case 2. However, dues to the limited numbers of data available, it is suggested that more study must be conducted to ensure the correctness of these factors before any adoption to Thailand building codesรายการ Energy storage for enabling integration of power system(2561-09) Pachern Jansaรายการ Transparent solar photovoltaic technology(Advance Industry Media Plus Co., Ltd, 2562-09) Pachern Jansaรายการ EV wireless charging towards industrial adaptation(Advance Industry Media Plus Co., Ltd, 2563-11) Pachern Jansa-รายการ การใช้ประโยชน์ BIM (Building information modeling).สำหรับอาคารอัจฉริยะ (Smart buildings).ในประเทศไทย(วารสาร สมาคมวิศวกรเครื่องกลไทย (Thai Society of Mechanical Engineers, TSME), 2564-08) เด่นชัย วรเดชจำเริญจากการรับรู้และเติบโตอย่างต่อเนื่องของกระบวนการแบบจำลองอาคารสารสนเทศ (building information modeling, BIM) ได้ถูกประยุกต์ใช้ในการสร้างแบบจำลองสามมิติ (3-D) ทั้งงานออกแบบสถาปัตยกรรม งานออกแบบวิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมงานระบบอาคาร เพื่อความสะดวกในการประสานงานร่วมกัน ทั้งการประมาณราคา รวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ลดการทำงานที่ซ้ำซ้อนและควบคุมกระบวนการต่างๆให้สอดคล้องและถูกต้อง เป็นแนวคิดจากประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยปัจจัยหลักที่ทำให้ BIM ถูกใช้ลดขั้นตอนความผิดพลาดอย่างแพร่หลายเนื่องจากต้นทุนงานก่อสร้างที่สูงมากกว่าประเทศกำลังพัฒนาหลายเท่าตัวยกตัวอย่างข้อมูลจากประเทศสหรัฐอเมริกา (Azhar at al. 2011) อาคารขนาดประมาณ 10,000 ตารางเมตร มีมูลค่างานก่อสร้างถึง 39 ล้านเหรียญสหรัฐ (1,170 ล้านบาท) มีค่าก่อสร้างสูงกว่าประเทศไทยประมาณ 5 - 10 เท่า (เด่นชัย และพุฑฒิพงษ์, 2563) ทำให้ BIM software ถูกพัฒนาถึงขั้นสามารถใช้งานอย่างเป็นรูปธรรมในมิติการลดต้นทุนและการควบคุมเวลา (5-D) เมื่อเทียบกับความเสี่ยงต่อความเสียหายทำให้เกิดการคืนทุนที่ชัดเจน (Barlish and Sullivan, 2017) รวมถึงขยายผลไปยังส่วนงาน facility management (FM) เรียกว่า 7-D (Obrecht, 2020) รวมส่วนงานวัฏจักรอาคาร (building life cycle) และงานซ่อมบำรุงอาคาร (operation and maintenance, O&M) ดังสรุปได้ตามนโยบายส่งเสริมของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท.) เพื่อยกระดับงานวิศวกรรมของประเทศไทย ในรูปที่ 1รายการ แนวทางการกําหนด LOD สําหรับงาน MEP เพื(BIM Object สมาคม TBIM, 2566-02-21) Denchai Woradechjumroenจากปัญหาความซับซ้อนของวิศวกรรมงานระบบประกอบ (mechanical, electrical and plumbing, MEP) อาคารที่มากกว่าในอดีตส่งผลต่อปัญหาการประสานงานตั้งแต่การออกแบบจนถึงการติดตั้งร่วมกับงานสถาปัตยกรรมและงานโครงสร้าง เทคโนโลยีแบบจำลองสารสนเทศ (Building Information Modeling, BIM) ได้ถูกนำมาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาการซ้อนทับของงาน และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานร่วมกันให้มีความรวดเร็วมากขึ้น โดยกระบวนการ BIM สามารถลดการทำงานที่ซ้ำซ้อน และควบคุมกระบวนการต่างๆให้สอดคล้องและถูกต้อง ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ระบบ BIM ได้มีการใชเพื่อลดขั้นตอนความผิดพลาดอย่างแพร่หลายโดยมีปัจจัยหลักที่ต้นทุนงานก่อสร้างที่สูงมากกว่าประเทศกำลังพัฒนาหลายเท่าตัว นอกจากนี้ยังมีมาตรฐานที่ได้ตกลงร่วมกันเพื่อง่ายต่อส่งการส่งต่อข้อมูลในรูปแบบของ open BIM ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดย Level of development (LOD) เป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีความสำคัญต่อการกำหนดความละเอียดของรูปทรงเลขาคณิต (LOD-G) และความละเอียดของข้อมูล (LOD-I) ในรูปแบบของ BIM object ที่สามารถนำไปใช้งานระหว่างกระบวนการทำงานตั้งแต่การออกแบบจนถึงการส่งมอบงานบริหารทรัพยากรอาคาร โดย LOD-I มีประโยชน์ในการกำหนดข้อมูลที่จำเป็นในแต่ละกระบวนการทำงาน เช่น ข้อมูลการออกแบบจะอยู่ในทุกระดับของ LOD ทั่วไป หากแต่ข้อมูลผู้ผลิตอาจจะจำเป็นตั้งแต่ระดับ LOD-400 ขึ้นไป ตามแนวทางของ CIC Building Information Modeling Standard เป็นต้นรายการ การปรับปรุงกระบวนการทำงานในคลังวัตถุดิบเพื่อลดความคลาดเคลื่อนในการจัดเก็บ(2566-05-11) อัญญาฎา สุขมัน และ สุพัฒตรา ศรีญาณลักษณ์รายการ การปรับปรุงประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักรในกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์พอลีเอสเตอร์(2566-05-11) สุพัฒตรา ศรีญาณลักษณ์ และ คัทลียา พยุงสกุล