SITI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู SITI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "ผุสดี กลิ่นเกษร"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 3 ของ 3
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ การเรียนรู้ตลอดชีวิตกับการพัฒนาทักษะชีวิต(การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม คร้ังที่ 14 ประจําปี 2562 วันที่ 19 ธันวาคม 2562, 2562-12-19) ผุสดี กลิ่นเกษรการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท้ังหมดของแต่ละบุคคลที่เกิดข้ึน ต้ังแต่แรกเกิดจนถึงตาย โดยเกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัยที่มีรูปแบบหลากหลายและมีความต่อเนื่องในชีวิต โดยการเรียนรู้ตลอดชีวิตยึดจาก 4 เสาหลักที่เป็น รากฐาน ได้แก่ การเรี ยนเพื่อรู้ (Learning to know) การเรี ยนรู้เพื่อปฏิบัติได้จริ ง (Learning to do) การเรี ยนรู้ เพื่อที่จะอยู่ร่วมกันและการเรี ยนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับผู้อื่น (Learning to Live Together) และการเรี ยนรู้เพื่อชีวิต (Learning to Be) เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะชีวิตซ่ึงเป็ นความสามารถข้ัน พื้นฐานของบุคคลในการปรับตัวและเลือกทางเดินชีวิตท่ีเหมาะสมในการดํารงชีวิต เพื่อสามารถเผชิญปัญหาต่างๆ ที่อยู่รอบตัวในสภาพสังคมปัจจุบันและเตรี ยมพร้อมสําหรับอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพสอดคล้องกับ สภาพแวดล้อมที่มีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ดังน้ันการเรียนรู้ตลอดชีวิตจึงช่วยพัฒนาทักษะชีวิตให้บุคคล สามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงต่างๆ ในยุคปัจจุบันน้ีรายการ การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงวัย(การประชุมวิชาการ และเผยแพร่ผลงานวิจัยคัดสรร สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ระดับชาติ หัวข้อ การศึกษายุค “Digital Disruption in Education” ในวันที่ 1-2 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงแรมชาโต เดอ เขาใหญ่ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา, 2563-02-02) สิรินธร สินจินดาวงศ์; ผุสดี กลิ่นเกษรการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมดของแต่ละบุคคล ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงตายที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีรูปแบบหลากหลายและมีความต่อเนื่องในชีวิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลุ่มบุคคลผู้สูงวัยให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะชีวิตในการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน พร้อมที่จะดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ และปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงวัยจึงเป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้นานที่สุดและสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม โดยมีการนำหลักการเรียนรู้สำหรับวัยผู้ใหญ่ (Adult learning) มาเป็นศาสตร์และศิลป์ในการช่วยให้ผู้สูงวัยได้เรียนรู้ โดยผู้ใหญ่จะมีการเรียนรู้ที่ต่างจากเด็ก 4 ประการ ได้แก่ 1) ความเข้าใจต่อตนเอง (Self-concept) 2) ประสบการณ์ (Experience) 3) ความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn) และ 4) เป้าหมายในการเรียนรู้ (Goal to Learning) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และพัฒนาไปสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืนรายการ การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงวัย(2563-02-02) สิรินธร สินจินดาวงศ์; ผุสดี กลิ่นเกษรการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life Long Learning) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมดของแต่ละบุคคล ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงตายที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีรูปแบบหลากหลายและมีความต่อเนื่องในชีวิต โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากลุ่มบุคคลผู้สูงวัยให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะชีวิตในการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน พร้อมที่จะดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ และปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ การเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้สูงวัยจึงเป็นการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นให้ผู้สูงอายุมีชีวิตอย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี มีคุณภาพชีวิตที่ดี สามารถพึ่งตนเองได้นานที่สุดและสามารถมีส่วนร่วมในการพัฒนาสังคม โดยมีการนำหลักการเรียนรู้สำหรับวัยผู้ใหญ่ (Adult learning) มาเป็นศาสตร์และศิลป์ในการช่วยให้ผู้สูงวัยได้เรียนรู้ โดยผู้ใหญ่จะมีการเรียนรู้ที่ต่างจากเด็ก 4 ประการ ได้แก่ 1) ความเข้าใจต่อตนเอง (Self-concept) 2) ประสบการณ์ (Experience) 3) ความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn) และ 4) เป้าหมายในการเรียนรู้ (Goal to Learning) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงวัยมีการเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาไปสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน