EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "กฤษฎา ไทยวัฒน์"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 5 ของ 5
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ การพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ส าหรับวิศวกร โดยใช้กระบวนการไอพีโอ(การประชุมวิชาการThe 11th PSU Education Conference“Academic Honesty in Disruptive Education: a Challenge to Global Citizens", 2566-06-15) ปรากฤต เหลี่ยงประดิษฐ์; ภรชัย จูอนุวัฒนกุล; กฤษฎา ไทยวัฒน์; กษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์; วนายุทธ์ แสนเงินบทความนี้ได้นำเสนอการพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรโดยใช้กระบวนการไอพีโอ และจัดการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ ที่เน้นการออกแบบกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งผู้สอนและผู้เรียน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอน โดยกระบวนการจะถูกนำมาใช้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ผลที่ได้พบว่าการใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ ได้ผลการประเมินจากผู้เรียนสูงสุด และได้ผลดีกว่าการใช้กระบวนการไอพีโออย่างเดียว หรือไม่มีการใช้กระบวนการไอพีโอ ซึ่งสอดคล้องกับผลค่าเกรดเฉลี่ยของนักศึกษา นอกจากนี้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากขึ้น สนใจถามตอบเพิ่มขึ้น และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ ผู้เรียนจะรู้ว่าต้องปรับหรือเรียนรู้เพิ่มเติมจากคำแนะนำของผู้สอน ผู้เรียนก็จะทราบว่าจะต้องปรับหรือเรียนรู้เพิ่มเติมในส่วนใด และผู้เรียนยังให้ข้อเสนอแนะที่ยืนยันได้ว่าการจัดการเรียนการสอนที่ใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนได้รายการ การพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกร โดยใช้กระบวนการ ไอพีโอ(มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2566-06-15) ภรชัย จูอนุวัฒนกุล; ปรากฤต เหลี่ยงประดิษฐ์; กฤษฎา ไทยวัฒน์; กษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์; วนายุทธ์ แสนเงินบทความนี้ได้นำเสนอการพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรโดยใช้ กระบวนการไอพีโอ และจัดการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ ที่เน้นการ ออกแบบกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งผู้สอนและผู้เรียน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอน โดย กระบวนการจะถูกนำมาใช้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ผลที่ได้พบว่าการใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวน ไอพีโอ ได้ผลการประเมินจากผู้เรียนสูงสุด และได้ผลดีกว่าการใช้กระบวนการไอพีโออย่างเดียว หรือไม่มีการใช้ กระบวนการไอพีโอ ซึ่งสอดคล้องกับผลค่าเกรดเฉลี่ยของนักศึกษา นอกจากนี้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ มากขึ้น สนใจถามตอบเพิ่มขึ้น และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ ผู้เรียนจะรู้ว่าต้องปรับ หรือเรียนรู้เพิ่มเติมจากคำแนะนำของผู้สอน ผู้เรียนก็จะทราบว่าจะต้องปรับหรือเรียนรู้เพิ่มเติมในส่วนใด และผู้เรียนยังให้ข้อเสนอแนะที่ยืนยันได้ว่าการจัดการเรียนการสอนที่ใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนได้รายการ การพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกร โดยใช้กระบวนการไอพีโอ(2566-06-15) ภรชัย จูอนุวัฒนกุล; ปรากฤต เหลี่ยงประดิษฐ์; กฤษฎา ไทยวัฒน์; กษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์; วนายุทธ์ แสนเงินบทความนี้ได้นำเสนอการพัฒนาการเรียนการสอนในวิชาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรโดยใช้กระบวนการไอพีโอ และจัดการเรียนการสอนโดยใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ ที่เน้นการออกแบบกระบวนการเปลี่ยนแปลงทั้งผู้สอนและผู้เรียน เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอน โดยกระบวนการจะถูกนำมาใช้อย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง ผลที่ได้พบว่าการใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ ได้ผลการประเมินจากผู้เรียนสูงสุด และได้ผลดีกว่าการใช้กระบวนการไอพีโออย่างเดียว หรือไม่มีการใช้กระบวนการไอพีโอ ซึ่งสอดคล้องกับผลค่าเกรดเฉลี่ยของนักศึกษา นอกจากนี้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้มากขึ้น สนใจถามตอบเพิ่มขึ้น และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ ผู้เรียนจะรู้ว่าต้องปรับหรือเรียนรู้เพิ่มเติมจากคำแนะนำของผู้สอน ผู้เรียนก็จะทราบว่าจะต้องปรับหรือเรียนรู้เพิ่มเติมในส่วนใด และผู้เรียนยังให้ข้อเสนอแนะที่ยืนยันได้ว่าการจัดการเรียนการสอนที่ใช้การเรียนรู้แบบเชิงรุกเสริมกระบวนไอพีโอ สามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการสอนและการเรียนรู้ของผู้เรียนได้รายการ การศึกษาการป้องกันความเสียหายของตัวประจุกรองของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่งด้วยรีแอคเตอร์(2562-12) กฤษฎา ไทยวัฒน์; นิมิต บุญภิรมย์; กษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์บทความนี้เป็นการนำเสนอการศึกษาการป้องกันความเสียหายของตัวประจุกรองของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่ง วัตถุประสงค์ของบทความเป็นการวิเคราะห์สาเหตุของความเสียหายของตัวประจุที่ใช้กรองแรงดันในภาควงจรเรียงกระแสของเครื่องเชื่อมไฟฟ้าแบบสวิตชิ่งในขณะที่ใช้งาน โดยการวัดค่าแรงดัน กระแสที่บัสไฟฟ้ากระแสตรง และวัดแรงดัน และกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ พบว่าเกิดกระแสกระโชกสูงที่ไหลเข้าตัวประจุขณะที่ทำการเชื่อมและหยุดเชื่อม และเกิดผลให้เกิดแรงดันตกที่บัสไฟฟ้ากระแสตรง และแรงดันที่จ่ายเข้า การแก้ปัญหาได้ติดตั้งรีแอคเตอร์ที่สายไฟฟ้ากระแสสลับจ่ายเข้าด้วยอัตราเปอร์เซ็นต์อิมพิแดนซ์เท่า 3 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลองสามารถลดค่ากระแสกระโชกของตัวประจุได้ นอกจากนี้ยังสามารถลดกระแสฮาร์มอนิกของกระแสไฟฟ้ากระแสสลับที่สายจ่ายเข้าด้วยรายการ ระบบตรวจสอบและแจ้งเตือนไฟฟ้าผิดพร่องในระบบจำหน่ายแรงตํ่า(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2565-10-27) เติมพงษ์ ศรีเทศ; กฤษฎา ไทยวัฒน์; วงศกร โพธิ์รุ่งบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการตรวจสอบระดับแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าของระบบไฟฟ้าแรงตํ่าที่ออกจากหม้อแปลงไฟฟ้าตามมาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค โดยสามารถดูข้อมูลบนจอแสดงผลแบบตามเวลาจริงได้ และแจ้งเตือนกรณีเกิดเหตุผิดพร่องในระบบจำหน่าย ระบบดำเนินการบันทึกข้อมูลจากเครื่องวัดทางไฟฟ้า ที่สามารถสื่อสารกับระบบ AIS Magellan โดยทำการส่งข้อมูลที่ได้จากการวัดเข้าฐานข้อมูล และแสดงผลแบบตามเวลาจริง ให้ทราบถึงการใช้พลังงานไฟฟ้า ค่าแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้า ที่เกิดขึ้นจริงในระบบจำหน่าย เพื่อสามารถนำมาวิเคราะห์ถึงสภาพการจ่ายโหลดทางไฟฟ้าของหม้อแปลงไฟฟ้าโดยอ้างอิงตามมาตรฐานของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค นอกจากนี้ระบบจะทำการแจ้งเตือนที่จอแสดงผล เมื่อค่าแรงดันไฟฟ้ามีความผิดปกติจากค่ามาตรฐานคุณภาพของการจ่ายไฟฟ้า รวมถึงระบบมีการแจ้งเตือนแก่ผู้ดูแลระบบ ในการที่จะจัดส่งเจ้าหน้าที่การไฟฟ้าไปดำเนินการ แก้ไข ซ่อมแซมหรือปรับปรุงระบบจำหน่ายได้รวดเร็วและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น