EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู EGI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย ผู้เขียน "คทา จารุวงษ์รังสี"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 3 ของ 3
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ การประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสาหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ(2561-11-22) เติมพงษ์ ศรีเทศ; คทา จารุวงษ์รังสี; เพชร นันทิวัฒนา; ณรงค์ อยู่ถนอม; ปรีชา กอเจริญบทความนี้กล่าวถึงการนา เทคโนโลยีการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็น เพื่อประยุกต์ใช้ในการนาเสนอข้อมูลงานศิลปะในพื้นที่จัดแสดงของ พิพิธภัณฑ์ ซึ่งเป็นการนา การสื่อสารมาใช้ในลักษณะเป็นฟังก์ชันเสริม ของการส่องสว่างปกติที่ใช้ส่องสว่างงานศิลปะ ระบบจะประกอบด้วย อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ฝังตัวเข้ากับโคมไฟที่ใช้ส่องสว่างภาพเขียนหรือ งานศิลปะ ซึ่งจะทา หน้าที่เข้ารหัสเฉพาะของโคมไฟที่มีค่าแตกต่างกัน โดยแสงสว่างที่ฉายมีค่าการส่องสว่างเหมือนกันในทุกๆโคมไม่สามารถ แยกได้ว่าโคมไฟที่ส่องสว่างมามีข้อมูลส่งมาหรือไม่ หรือมีข้อมูล แตกต่างกันอย่างไร และส่วนวงจรรับจะมีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถ ถอดรหัสข้อมูลการสื่อสารที่แฝงมากับแสงสว่าง เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟน เพื่อนารหัสเฉพาะที่ไดไ้ ปประมวลผล จากนั้นจึงแสดงขอ้ มูลงานศิลปะ บนสมาร์ทโฟนในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ เสียง หรือวิดีทัศน์ได้รายการ การประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสำหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ(การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Conference) ครั้งที่ 41 (EECON-41), 2561-11-21) เพชร นันทิวัฒนา; เติมพงษ์ ศรีเทศ; คทา จารุวงษ์รังสี; ปรีชา กอเจริญบทความนี้กล่าวถึงการนำเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นเพื่อประยุกต์ใช้ในการนำเสนอข้อมูลงานศิลปะในพื้นที่จัดแสดงของพิพิธภัณฑ์ ซึ่งเป็นการนำการสื่อสารมาใช้ในลักษณะเป็นฟังก์ชันเสริมของการส่องสว่างปกติที่ใช้ส่องสว่างงานศิลปะ ระบบจะประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ฝังตัวเข้ากับโคมไฟที่ใช้ส่องสว่างภาพเขียนหรืองานศิลปะ ซึ่งจะทำหน้าที่เข้ารหัสเฉพาะของโคมไฟที่มีค่าแตกต่างกัน โดยแสงสว่างที่ฉายมีค่าการส่องสว่างเหมือนกันในทุกๆโคมไม่สามารถแยกได้ว่าโคมไฟที่ส่องสว่างมามีข้อมูลส่งมาหรือไม่ หรือมีข้อมูลแตกต่างกันอย่างไร และส่วนวงจรรับจะมีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถถอดรหัสข้อมูลการสื่อสารที่แฝงมากับแสงสว่าง เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนเพื่อนำรหัสเฉพาะที่ได้ไปประมวลผล จากนั้นจึงแสดงข้อมูลงานศิลปะบนสมาร์ทโฟนในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ เสียง หรือวิดีทัศน์ได้รายการ การประยุกต์ใช้การสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นสำหรับพิพิธภัณฑ์อัจฉริยะ(การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า (Electrical Engineering Conference) ครั้งที่ 41 (EECON-41), 2561-11-21) เพชร นันทิวัฒนา; ปรีชา กอเจริญ; เติมพงษ์ ศรีเทศ; คทา จารุวงษ์รังสีบทความนี้กล่าวถึงการนำเทคโนโลยีการสื่อสารด้วยแสงที่มองเห็นเพื่อประยุกต์ใช้ในการนำเสนอข้อมูลงานศิลปะในพื้นที่จัดแสดงของพิพิธภัณฑ์ ซึ่งเป็นการนำการสื่อสารมาใช้ในลักษณะเป็นฟังก์ชันเสริมของการส่องสว่างปกติที่ใช้ส่องสว่างงานศิลปะ ระบบจะประกอบด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ฝังตัวเข้ากับโคมไฟที่ใช้ส่องสว่างภาพเขียนหรืองานศิลปะ ซึ่งจะทำหน้าที่เข้ารหัสเฉพาะของโคมไฟที่มีค่าแตกต่างกัน โดยแสงสว่างที่ฉายมีค่าการส่องสว่างเหมือนกันในทุกๆโคมไม่สามารถแยกได้ว่าโคมไฟที่ส่องสว่างมามีข้อมูลส่งมาหรือไม่ หรือมีข้อมูลแตกต่างกันอย่างไร และส่วนวงจรรับจะมีวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถถอดรหัสข้อมูลการสื่อสารที่แฝงมากับแสงสว่าง เชื่อมต่อกับสมาร์ทโฟนเพื่อนำรหัสเฉพาะที่ได้ไปประมวลผล จากนั้นจึงแสดงข้อมูลงานศิลปะบนสมาร์ทโฟนในรูปแบบของข้อความ รูปภาพ เสียง หรือวิดีทัศน์ได้