บทความวิชาการ
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
บทความทางวิชาการของอาจารย์คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
ข่าว
บทความทางวิชาการของอาจารย์คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เรียกดู
กำลังเรียกดู บทความวิชาการ โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 203
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ Electronic Data Interchange (EDI) : Strategy for Successful(สาร NECTEC, 2544-09) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ Intranets-Extranets : Successful Formula for Execution Business and Organization(วารสารปัญญาจักษุ, 2547-10) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ Customer Relationship Management : CRM(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2549-03-06) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ Wholesaling on the Web(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2549-03-20) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ e-Marketing(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2549-05-08) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ Retailing on the Internet(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2549-06-12) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ SMS Mobile Marketing(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2549-07-03) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ The Marketing Value of the Internet(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2549-07-31) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ วัฒนธรรมยุคอินเทอร์เน็ต (E-Culture)(กรุงเทพธุรกิจ นสพ., 2549-08-09) Sipang Dirakkhunakonวัฒนธรรมเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นของชาติ ซึ่งสามารถปลูกฝั่งได้ และสามารถสร้างขึ้นใหม่ได้เช่นกันเพื่อดำรงไว้ บอกเล่าวิถีการดำเนินชีวิต และระลึกถึงประวัติศาสตร์ ซึ่งต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการนำเสนอให้เหมาะกับยุคสมัย โดยต้องอาศัยคนในท้องถิ่น คนในชาติ ต้องร่วมกันอนุรักษ์ รักษาไว้ เพื่อคงความเป็นท้องถิ่น ของชาตินั้นรายการ ห้าสิบปีของการส่งดาวเทียม(โลกวันนี้ นสพ.,, 2550) Sipang Dirakkhunakonเมื่อ 50 ปีที่แล้วสหภาพโซเวียตได้ส่งดาวเทียมขึ้นสู่วงโคจรเป็นครั้งแรก ดาวเทียมมีชื่อว่า สปุทนิท Sputnik 1 ดาวเทียมถูกปล่อยจากสถานีปล่อยจรวดไบโคนู (Baikonur) ที่อยู่ห่างออกไปราว 370 กิโลเมตรจากตัวเมืองในเขตคาซัคสถาน (Kazakhstan) ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่งของสหภาพโซเวียต คำว่าสปุทนิท (sputnik) ในภาษารัสเซียหมายถึงเพื่อนร่วมกลุ่มหรือสหาย (companion)รายการ Marketing Automation(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2550-05-07) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ วิกฤตการณ์ ใบอนุญาต ลิขสิทธ์ และสิทธิบัตร ของรัฐบาลไทย ในสถานการณ์โลก(สยามธุรกิจ นสพ., 2550-05-19) Sipang Dirakkhunakonรายการ e-Mail Marketing(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2550-05-21) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ จุดเริ่มความก้าวหน้า หรือ หายนะ ของมนุษยชาติ(ประชาชาติธุรกิจ นสพ.,, 2550-06-04) Sipang Dirakkhunakonโรงงานไฟฟ้าพลังปรมณู พลังงานนิวเคลียร์สามารถสร้างพลังงานไฟฟ้าจำนวนมหาศาลได้จากการควบคุมขบวนการการเกิดปฏิกิริยานิวเคลียร์ของอะตอมของนิวไคล์ของธาตุกัมมันตรังสี โดยมวลที่หายไปของธาตุกัมมันตรังสีจะกลายเป็นพลังงาน โดยระดับพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์นั้นจะมากกว่าขบวนการเผาไหม้ทางเคมีหลายเท่า หลายประเทศทั่วโลกมีการสร้างโรงงานไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เพราะเป็นแหล่งพลังงานที่สำคัญในการผลิตไฟฟ้ารายการ วิศวกรรมย้อนกลับ ความก้าวหน้าของอุสาหกรรมโลก(สยามธุรกิจ นสพ.,, 2550-06-13) Sipang Dirakkhunakonวิศวกรรมย้อนกลับ หรือ Reverse Engineering เป็นคนละคำกับคำว่า Reengineering ที่หมายถึงการจัดการองค์กรใหม่ โดยอาจมีเรื่องการลดจำนวนพนักงานเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่คำว่าวิศวกรรมย้อนกลับเป็นขบวนการค้นหาหลักการหรือวิธีการทำงานของอุปกรณ์หรือระบบหรือซอฟแวร์ โดยการวิเคราะห์โครงสร้าง หน้าที่การทำงาน, วิธีการใช้งานหรือโปรแกรม ส่วนใหญ่จะเป็นการค้นหาที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์หรืออุปกรณ์จักรกลหรือโปรแกรม จากการวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานแล้วนำมาสร้างเป็นอุปกรณ์หรือระบบใหม่ที่ทำหน้าที่ได้เหมือนกับระบบที่ถูกวิเคราะห์โดยไม่ต้องมีทำการลอกแบบหรือทราบวิธีการทำงานจริง ๆ ของระบบที่ถูกทำการวิเคราะห์รายการ Strategic Uses IT for Competitive(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2550-06-15) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ วิกฤตอุณหภูมิโลกร้อน และปรากฏการณ์ธารน้ำแข็งขั้วโลก(ประชาชาติธุรกิจ นสพ.,, 2550-06-17) Sipang Dirakkhunakonสาเหตุที่ทำให้โลกร้อนนั้นมากจากหลายปัจจัยด้วยกันคือ ปริมาณการเพิ่มขึ้นของก๊าซเรือนกระจก การเปลี่ยนแปลงของกระแสน้ำในมหาสมุทร รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงของวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ส่วนปัญหาเรื่องโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้นและปัญหาการลดลงของชั้นโอโซนรายการ Global Marketing(หนังสือพิมพ์บิสิเนสไทย, 2550-07-09) สุพล พรหมมาพันธุ์รายการ มาตรฐานระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่สู่ยุคอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง(Telecom Journal, 2550-08-15) Sipang Dirakkhunakonการเติบโตของอินเทอร์เน็ตทำให้มีการพัฒนาระบบการเข้าถึงข้อมูลโดยผ่านทางระบบโทรศัพท์มือถือมาตรฐานในระบบ GSM ได้ขยายออกเพื่อให้สามารถส่งข้อมูลแบบดิจิตอลผ่านระบบเครือข่ายแบบ GSM ได้ โดยวิธีการที่เรียกว่า General Packet Radio Service หรือ GPRS ซึ่งจะทำให้โทรศัพท์มือถือสามารถรับส่งข้อมูลได้เช่นเดียวกับคอมพิวเตอร์ที่ใช้โมเด็มผ่านสายโทรศัพท์ โดยอัตราการส่งข้อมูลในระบบ GPRS ได้ปรับปรุงเพิ่มขึ้นในช่วงหลายปีมานี้ ในช่วงที่เริ่มมีการใช้งานเครือข่ายโทรศัพท์สำหรับส่ง ข้อมูลมีการกำหนดมาตรฐานการใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยผ่านโทรศัพท์มือถือหรือโปรโตคอลที่เรียกว่า Wireless Access Protocol หรือ WAP ซึ่งทำให้การใช้งานโทรศัพท์มือถือสามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตได้เหมือนกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ แต่เนื่องจากข้อจำกัดในการแสดงผลของโทรศัพท์ที่มีขนาดเล็กและการส่งข้อมูลที่มีขนาดจำกัด จึงมีการพัฒนามาตรฐานและแนวทางอื่นสำหรับการใช้งานขึ้นมาแทนรายการ เหรียญด้านที่สองของอุตสาหกรรมไอทีอินเดีย(หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ, 2550-09-19) กษิร์พันธ์, มาสกุลหลายๆคนได้อ่านหนังสือยอดนิยม "The World is Flat" ของ Thomas L. Friedman แล้วทึ่งกับโอกาสและศักยภาพของอินเดียในการแข่งขันในอุตสาหกรรมงานบริการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ บังกะลอร์ เชนไน ไฮเดอราบัด กลายเป็นชื่อของเมืองแห่งเทคโนโลยี ถ้าคุณคาดหวังว่าเมื่อเดินทางมาถึงเมืองเหล่านี้แล้วจะพบกับความตื่นตาตื่นใจเหมือนกับโตเกียว หรือเมืองที่มีชื่อเสียงอื่นๆ คุณอาจจะผิดหวังและขาดความเชื่อมั่นจากสิ่งที่ได้อ่านหรือฟังมา