ACC-08. ผลงานนักศึกษา
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู ACC-08. ผลงานนักศึกษา โดย วันที่ออก
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 20 ของ 105
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ ประกวดแข่งขัน “การจัดทำบัญชีธุรกิจด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางการบัญชี” โครงการเทิดพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเจริญพระชนมพรรษา 80 พรรษา ในหัวข้อ “เทคโนโลยีกับการบัญชี”(2551-01) พาขวัญ เปรี้ยวหวาน; เรวดี หวังสกุล; ศิริพร แปลงโฉมรายการ รับรางวัลการเผยแพร่ผลงานวิทยานิพนธ์ระดับชมเชยของการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2555) ปาริชา ปิสิตโรรายการ รายการ รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ในพิธีไหว้ครูแห่งแผ่นดิน และ Freshy day (New Heart Social responsibility) ในวันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฏาคม 2555 มหาวิทยาลัยศรีปทุม(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2555-07) SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุมรายการ บัญชี ศรีปทุม คว้า 2 แชมป์ HUA CUP ครั้งที่ 10 คว้ารางวัลชนะเลิศการประกวดผู้นำเชียร์, รางวัลชนะเลิศการแข่งขัน กีฬาพื้นบ้าน และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดขบวนพาเหรด ในการแข่งขันกีฬาเชื่อมสามัคคี นักศึกษาด้านบัญชี 7 สถาบัน "HUA CUP ครั้งที่ 10"(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556) SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุมรายการ ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทากำไรต่อผลตอบแทนผู้บริหารของ บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556) จุฑารัตน์ เลิศจุลจิตต์การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการทำกาไรต่อผลตอบแทนผู้บริหารของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จำนวน 27 บริษัท โดยรวบรวมข้อมูลจากงบการเงิน และหมายเหตุประกอบ งบการเงิน ปี พ.ศ. 2553 - 2555 รวม 3 ปี รวมทั้งสิ้น 81 ปีบริษัท จากฐานข้อมูลตลาดหลักทรัพย์ แห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนความสามารถใน การทำกำไรต่อผลตอบแทนผู้บริหาร โดยใช้การวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของความสามารถในการทำกำไรรายการ ชนะการแข่งขัน “MOS Olympic 2013” ระดับภาคกลาง(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556) ศรัญญา แซ่เตียว และมีนตา ก้อนพลรายการ ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ความเข้าใจของผู้ใช้ระบบบริหารทรัพยากรองค์การ (ERP) กับประสิทธิภาพรายงานทางการเงินและบัญชี : กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556) ธนัญชกร แดงสูงเนินการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความสัมพันธ์ความรู้ความเข้าใจของผู้ใช้ระบบบริหารทรัพย์กรอง์กร (ERP) กับประสิทธิภาพรายงานทางการเงินและบัญชี กรณีศึกษา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยวิธีการศึกษาได้ทาการศึกษาจากข้อมูลปฐมภูมิจากการสังเกต การสอบถามจากบุคคลต่างๆที่ปฏิบัติงานด้านแผนงานงบประมาณ พัสดุ การเงินและการบัญชีของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เกี่ยวข้อง จากข้อมูลที่ได้นามาวิเคราะห์ข้อมูลแบบเชิงพรรณา เพื่ออธิบายให้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น และทาการอบรมให้ผู้ปฏิบัติงานโดยยึดโครงสร้างองค์พร้อมทั้งสรุปผลที่ได้จากการศึกษาและข้อเสนอแนะ พบว่า เพศ อายุ และประสบการณ์ทางานไม่มีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชีเกี่ยวกับระบบลูกหนี้ เจ้าหนี ระบบจ่ายเงิน และระบบรับเงิน ระบบกาศึกษา มีความสัมพันธ์ต่าในทิศทางตรงกันข้ามกับความรู้ความเข้าใจการจัดทาบัญชีเกี่ยวกับระบบจ่ายเงิน ส่วนระบบลูกหนี้ เจ้าหนี้ และระบบรับเงินไม่มีความสัมพันธ์สาขาที่จบการศึกษามีความสัมพันธ์ต่าในทิศทางตรงกันข้ามกับความรู้ความเข้าใจการจัดทาบัญชีเกี่ยวกับ ระบบลูกหนี้ ระบบรับเงิน และระบบการจ่ายเงิน ส่วนระบบเจ้าหนี้ไม่มีความสัมพันธ์ การเข้ารับการอบรมมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชีเกี่ยวกับลูกหนี้ เจ้าหนี้ ระบบจ่ายเงิน และระบบรับเงิน มีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชีเกียวกับระบบลูกหนี้ เจ้าหนี้ ระบบจ่ายเงิน และระบบรับเงินสาขาที่จบการศึกษา การเข้ารับการอบรม และการปฏิบัติงานในระบบลูกหนี้ เจ้าหนี้ ระบบจ่ายเงิน และระบบจ่ายเงินมีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจในการจัดทาบัญชีเกี่ยวกับระบบ รายงานทางบัญชี และรายงานงบการเงินรายการ ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับผลตอบแทนที่คาดหมายของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556) แก้วมณี อุทิรัมย์การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินทั้ง 20อัตราส่วน กับผลตอบแทนที่คาดหมายของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี จำนวนทั้งสิ้น 10 บริษัทโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานราคาหลักทรัพย์ รายงานทางการเงินประจำปีและแบบรายงานการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม(56-1) ของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี เพื่อใช้เป็นตัวแทนของอัตราส่วนทางการเงินและผลตอบแทนที่คาดหมาย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา (Description statistics)การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน(Pearson correlation analysis)และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ(Multiple regression analysis) ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ผลจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินทั้ง 20 อัตราส่วน กับผลตอบแทนที่คาดหมายของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี พบว่าอัตราส่วนทางการเงินทุกอัตราส่วนต่างมีความสัมพันธ์กับผลตอบแทนที่คาดหมาย ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05ยกเว้นอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม และอัตรากำไรจากการดาเนินงานที่ไม่มีความสัมพันธ์กับผลตอบแทนที่คาดหมาย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่านักลงทุนในตลาดทุนของประเทศไทย ในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในด้านอัตราส่วนทางการเงินที่แสดงในงบการเงินเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาตัดสินใจเลือกหลักทรัพย์ที่น่าลงทุนได้รายการ ตอบปัญหาวิชาการด้านบัญชีระดับมหาวิทยาลัย ครั้งที่ 3" ซึ่งการแข่งขันครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมแข่งขันจำนวน 42 ทีม จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิชาการบัญชี สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย ณ มหาวิทยาลัยธนบุรี(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556) อริสสา ชูมีโหมด; รารัตน์ วระราโภ; ศิริรัตน์ นวกิจวิบูลย์รายการ รับเกียรติบัตร งานวันเกียรติยศ(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556-02) SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุมรายการ ผลงานและความดีสมศักดิ์ศรี รางวัลพระราชทาน กระทรวงศึกษาธิการ โครงการคัดเลือกนักเรียน นักศึกษาและสถานศึกษา(SPU_คณะบัญชี มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556-07) อรอุมา วันบัวแดงรายการ ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินกับผลตอบแทนที่คาดหมายของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556-12) แก้วมณี อุทิรัมย์การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินทั้ง 20อัตราส่วน กับผลตอบแทนที่คาดหมายของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี จำนวนทั้งสิ้น 10 บริษัทโดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากรายงานราคาหลักทรัพย์ รายงานทางการเงินประจำปีและแบบรายงานการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม(56-1) ของบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี เพื่อใช้เป็นตัวแทนของอัตราส่วนทางการเงินและผลตอบแทนที่คาดหมาย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา (Description statistics)การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน(Pearson correlation analysis)และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุ(Multiple regression analysis) ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05 ผลจากการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราส่วนทางการเงินทั้ง 20 อัตราส่วน กับผลตอบแทนที่คาดหมายของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี พบว่าอัตราส่วนทางการเงินทุกอัตราส่วนต่างมีความสัมพันธ์กับผลตอบแทนที่คาดหมาย ที่ระดับนัยสาคัญทางสถิติ 0.05ยกเว้นอัตราการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม และอัตรากำไรจากการดาเนินงานที่ไม่มีความสัมพันธ์กับผลตอบแทนที่คาดหมาย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่านักลงทุนในตลาดทุนของประเทศไทย ในกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในด้านอัตราส่วนทางการเงินที่แสดงในงบการเงินเป็นเกณฑ์ในการพิจารณาตัดสินใจเลือกหลักทรัพย์ที่น่าลงทุนได้รายการ ความสัมพันธ์ระหว่างผลการดำเนินงานทางบัญชีกับการจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการของหมวดธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิต ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2556-12-24) ปราณี แจ่มสาครวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์สภาพคล่องทางการเงิน เฉพาะอัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์ความสามารถในการทำกำไร เฉพาะอัตรากำไรสุทธิและอัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์ความสามารถ (ประสิทธิภาพ)ในการดำเนินงาน เฉพาะอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ถาวร อัตราหมุนเวียนของสินทรัพย์ถาวร และอัตราส่วนการหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการวิเคราะห์ความสามารถในการก่อหนี้ เฉพาะอัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผู้ถือหุ้น กับการจัดอันดับการกำกับดูแลกิจการของหมวดธุรกิจประกันภัยและประกันชีวิตที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยรายการ การวิเคราะห์คุณภาพกำไรของกลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557) วิสุดา อินทรสรการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคุณภาพกำไรของกลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยโดยเลือกกลุ่มตัวอย่างบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ในกลุ่มธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เพื่อขาย 5 บริษัท และกลุ่มธุรกิจบริการรับเหมาก่อสร้าง 5 บริษัท ระหว่างปี 2554 – 2555 และใช้เทคนิคในการวิเคราะห์คุณภาพกำไร 6 เทคนิค ได้แก่ 1.การค้นหาสัญญาณเตือนภัยจากรายงานของผู้สอบบัญชี งบการเงินและหมายเหตุประกอบงบการเงิน 2. การประเมินผลกระทบของนโยบายการบัญชีที่กิจการใช้อยู่ 3. การประเมินฝ่ายบริหาร 4. การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน 5. การใช้อัตราส่วนจากงบกระแสเงินสด 6. การวัดความแปรปรวนและความเสี่ยงรายการ ความรู้ความเข้าใจของพนักงานบัญชีต่อการรับรู้รายได้ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กรณีศึกษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 1 (ภาคกลาง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557) ปรีดาวรรณ สุขประเสริฐการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจของพนักงานบัญชีต่อการรับรู้รายได้ของการประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นพนักงานบัญชีในสานักงานการไฟฟ้าสาขา(Branch Office) ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเขต 1 (ภาคกลาง) จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จานวน 344 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) โดยสถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ ค่าที (t-test) สาหรับตัวแปรอิสระที่มีค่าย่อย 2 ค่า และการวิเคราะห์การผันแปรทางเดียว (One-Way Analysis of Variance : ANOVAรายการ ระบบการควบคุมภายในสินค้าคงเหลือ : กรณีศึกษา บริษัท สยามวาสโก จำกัด(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557) มนัญชยา สังฆะบาลีการศึกษาค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระบบการควบคุมภายใน สินค้าคงเหลือ: กรณีศึกษาบริษัท สยามวาสโก จำกัด (2) เพื่อประเมินประสิทธิภาพระบบการ ควบคุมภายในสินค้าคงเหลือ: กรณีศึกษาบริษัท สยามวาสโก จำกัด (3) เพื่ออเสนอแนวทางการ แก้ไขข้อบกพร่องของระบบการควบคุมภายในสินค้าคงเหลือ: กรณีศึกษาบริษัท สยามวาสโก จำกัดรายการ การวิเคราะห์ต้นทุนประกอบการขนส่งรถโดยสารประจำทางของ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพเปรียบเทียบกับรถเอกชนร่วมบริการ(2557) พนิดา ทองสุขวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนการประกอบการขนส่งรถโดยสารประจำทางขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ และเปรียบเทียบต้นทุนการประกอบการระหว่างรถโดยสารขององค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพกับรถเอกชนร่วมบริการในเขตการเดินรถที่ 5โดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงพรรณนา จากการวิเคราะห์เอกสาร (Documentary Analysis) แหล่งข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากเอกสารและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลปฐมภูมิจากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการรถเอกชน โดยวิธีการคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรม (Activity Based Costing หรือ ABC) มาใช้ในการคำนวณต้นทุนสายการเดินรถประจำทางรายการ ปัจจัยที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการสำนักงานรับทำบัญชี กรณีศึกษา จังหวัดนนทบุรี(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557) พรชิดา นุชสายสถาวะเศรษฐกิจปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ซึ่งในบางครั้งมีการขยายตัวและประสบปัญหา จึงมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจไทย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนเกิดความยุ่งยากซับซ้อนในการบริหารงานมากยิ่งขึ้นจึงทำให้ธุรกิจต้องมีการปรับโครงสร้างใหม่รายการ การศึกษาการรับรู้รายได้ของบริษัทที จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กรณีศึกษา: กลุ่มธุรกิจพาณิชย์(มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2557) ผ่องจิต สุนทรพันธ์การค้นคว้าอิสระครัั้งนีมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาหลักเกณฑ์การรับรู้รายได้ในรายงานประจำปี และงบการเงินของบริษัทในกลุ่มพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (2) เพื่ออศึกษาลักษณะการเปิ ดเผยข้อมูลในรายงานประจำปี และงบการเงินของบริษัทในกลุ่มธุรกิจ พาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (3) เพี่อศึกษาการรับรู้รายได้ของกลุ่มธุรกิจพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่37 เรื่องการรับรู้รายได้ (4) เพี่อศึกษารูปแบบการรับรู้รายได้ของธุรกิจพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (5) เพี่อศึกษาเปรียบเทียบการรับรู้รายได้ของธุรกิจพาพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นบริษัทที่ ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ที่มีทุนจดทะเบียนตัั้งแต่ 2,000 ล้านบาท จำนวน 5 บริษัท มาดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลจากการเก็บข้อมูลรายงานประจำปี และงบการเงินของบริษัทในกลุ่มธุรกิจพาณิชย์ที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร หนังสือ และวารสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง