School of Engineering
URI ถาวรสำหรับชุมชนนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู School of Engineering โดย เรื่อง "-"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ Fault detection involving unfavorable interaction effects to enhance the fault diagnostics of refrigeration systems in commercial supermarkets(Springer Verlag, 2564-04-15) Denchai woradechjumroen; Thananchai LeephakpreedaMost HVAC&R machine issues are inherently caused by problems in routine operations, decommissioning problems, improper design, and poor installation, and these issues can result in excessive energy consumption and a short equipment lifespan. Existing fault detection and diagnosis (FDD) methods for refrigeration systems have been considered in supermarket environments. However, typical HVAC systems are generally operated without considering indoor conditions as the drivers of refrigeration operations. This issue leads to unreliable refrigeration data for FDD design. This article systematically proposes a novel fault detection method for faulty HVAC operations related to problems in routine operations and the excessive energy use of refrigeration systems. Four steps are developed as a novel unfavorable interaction strategy to identify abnormal HVAC operations based on identified energy signatures. Outdoor and zonal air temperatures (OAT and ZAT) are concurrently utilized to specify typical area operations for rooftop units (RTUs). A fault detection approach is proposed based on RTU outliers using plots of OAT and ZAT versus the energy consumption of the refrigeration system based on fixed 10% differences in the indoor relative humidity range. The findings of a case study involving five supermarkets demonstrate the potential to identify the outliers that cause unsuitable dead-band zones and temperature set points for RTU operations, which can lead to excessive energy consumption of refrigeration units. The proposed methodology enhances the data reliability and robustness of FDD for refrigeration systems.รายการ การวิเคราะห์ผลกระทบของการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับระบบจำหน่ายของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค(การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43 ประจำปี 2563, 2563-10-28) ภูวดล ภูวงแหวน อนันต์ จันเสนา ภรชัย จูอนุวัฒนกุล กษิเดช ทิพย์อมรวิวัฒน์ปัจจุบันแนวโน้มการใช้งานยานยนต์ไฟฟ้าแทนรถยนต์ที่ใช้น้ำมันหรือแก๊สได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากยานยนต์ไฟฟ้าสามารถช่วยลดมลภาวะต่างๆ และมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ผลที่ตามมาคือทำให้มีความต้องการใช้พลังงานไฟฟ้าสำหรับการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น ซึ่งจะส่งผลต่อระบบจำหน่ายในเรื่องของระดับแรงดันไฟฟ้าของระบบและการรับโหลดของหม้อแปลงไฟฟ้า บทความนี้เป็นการนำเสนอการวิเคราะห์ผลกระทบของการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าที่เชื่อมต่อกับระบบจำหน่าย โปรแกรม DIGSILENT PowerFactory ถูกใช้ในการจำลองระบบไฟฟ้าของหมู่บ้านแห่งหนึ่งในจังหวัดปทุมธานี ในการวิเคราะห์ผลกระทบของการชาร์จยานยนต์ไฟฟ้าโดยพิจารณาถึงระดับแรงดันไฟฟ้าและการรับโหลดของหม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อหาจำนวนยานยนต์ไฟฟ้าสูงสุดที่สามารถชาร์จได้ ผลของการจำลองพบว่าค่ากำลังไฟฟ้ารวมและค่ากระแสไฟฟ้าจะแปรตามจำนวนการชาร์จของยานยนต์ไฟฟ้าและระบบจำหน่ายในปัจจุบันนั้นสามารถรองรับการชาร์จของยานยนต์ไฟฟ้าได้ 1 คันต่อหลังคาเรือน ซึ่งได้พิจารณาการชาร์จที่โหลดของหม้อแปลงไม่เกิน 80% ในอีกความหมายหนึ่งคือหากเกิดเหตุการณ์ที่มีการชาร์จตามครัวเรือนเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ระบบจำหน่ายก็ยังสามารถรองรับการชาร์จได้