DIG-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)
URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้
เรียกดู
กำลังเรียกดู DIG-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ) โดย เรื่อง "การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม"
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 2 ของ 2
ผลลัพธ์ต่อหน้า
ตัวเลือกเรียงลำดับ
รายการ การออกแบบกราฟิกสำหรับเกมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมืองน่าน(การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 6 "สังคมความรู้และดิจิทัล" KDS (Knowledge and Digital Society: 2021), 2564-05-27) nattakamol toongsuwanการศึกษาวิจัยเรื่องการออกแบบกราฟิกสำหรับเกมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมืองน่านชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบกราฟิกในเกม 2) เพื่อหาแนวทางในการออกแบบกราฟิกในเกมที่สามารถส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3) เพื่อนำเสนอต้นแบบกราฟิกที่เชื่อมโยงกับพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยใช้เนื้อหาการออกแบบจากพื้นที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของเมืองน่านเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีเรื่องราวทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมหลายรูปแบบที่น่าสนใจในการนำมาเผยแพร่ต่อคนรุ่นใหม่ โดยมีผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายเป็นเจเนอเรชั่นวายซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่มีการเปิดรับข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายผ่านสื่อดิจิทัลโดยเฉพาะจากการเล่นเกมบนโทรศัพท์มือถือ ระเบียบวิธีการวิจัยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานด้วยการศึกษารูปแบบของกราฟิกในเกม การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบกราฟิกเกมรวมถึงการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคเป้าหมายที่เล่นเกมมือถือและชอบการท่องเที่ยวในเรื่องของรูปแบบของกราฟิกในเกมที่ชอบ จากการศึกษาวิจัยค้นพบว่ารูปแบบของกราฟิกในเกมที่กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายชอบมากที่สุดคือแนวภาพแบบ Stylized (ทันสมัย เกินจริง) นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบของกราฟิกในเกม ผลจากการเก็บค่าความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่องานกราฟิกต้นแบบมีความพึงพอใจในเรื่องของการสื่อสารถึงพื้นที่และสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมด้วยภาพกราฟิกในเกมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดรายการ การออกแบบกราฟิกสำหรับเกมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมืองน่าน(มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตปัตตานี, 2564-05-27) ณัฐกมล ถุงสุวรรณการศึกษาวิจัยเรื่องการออกแบบกราฟิกสำหรับเกมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเมืองน่านชิ้นนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษารูปแบบกราฟิกในเกม 2) เพื่อหาแนวทางในการออกแบบกราฟิกในเกมที่สามารถส่งเสริมและสร้างแรงบันดาลใจในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3) เพื่อนำเสนอต้นแบบกราฟิกที่เชื่อมโยงกับพื้นที่การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม โดยใช้เนื้อหาการออกแบบจากพื้นที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมของเมืองน่านเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีเรื่องราวทางด้านศิลปะและวัฒนธรรมหลายรูปแบบที่น่าสนใจในการนำมาเผยแพร่ต่อคนรุ่นใหม่ โดยมีผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมายเป็นเจเนอเรชั่นวายซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่มีการเปิดรับข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลายผ่านสื่อดิจิทัลโดยเฉพาะจากการเล่นเกมบนโทรศัพท์มือถือ ระเบียบวิธีการวิจัยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสานด้วยการศึกษารูปแบบของกราฟิกในเกม การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบกราฟิกเกมรวมถึงการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคเป้าหมายที่เล่นเกมมือถือและชอบการท่องเที่ยวในเรื่องของรูปแบบของกราฟิกในเกมที่ชอบ จากการศึกษาวิจัยค้นพบว่ารูปแบบของกราฟิกในเกมที่กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายชอบมากที่สุดคือแนวภาพแบบ Stylized (ทันสมัย เกินจริง) นำมาพัฒนาเป็นต้นแบบของกราฟิกในเกม ผลจากการเก็บค่าความพึงพอใจของกลุ่มเป้าหมายที่มีต่องานกราฟิกต้นแบบมีความพึงพอใจในเรื่องของการสื่อสารถึงพื้นที่และสถานที่ท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมด้วยภาพกราฟิกในเกมในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด