GEN-01. บทความวิชาการ/วิจัย (วารสารระดับนานาชาติ)

URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้

เรียกดู

การส่งล่าสุด

ตอนนี้กำลังแสดง1 - 8 ของ 8
  • รายการ
    The Role of University in Achieving Sustainable Development Goals of Sripatum University in Thailand
    (Nimitmai Review., 2567-04-30) Kanidta Chairattanawan; Monnapa Thapsut
    Universities are increasingly engaging with the Sustainable Development Goals (SDGs). As well as Sripatum University, because SDGs are seen as enablers of societal transformations and transformations within universities. This research article aims to study the situation of Sripatum University in SDGs and to establish a policy to support sustainable development goals. We use qualitative methods, utilizing a literature review, structured observation and comprehensive in -depth interviews. There are five key informants which was selected by purposive sampling, 16 participants, including students, academics (lecturers), sustainability coordinators, executives and support services. The instrument for this research was guideline for interview, Data was analyzed by content analysis This study shows that the president has appointed a working group to drive the sustainable development goals. During the academic year 2022-2023, Sripatum University focuses on 6 groups of SDGs, including SDG 4: Quality Education, SDG-5: Gender Equality, SDG-7: Affordable and Renewable Energy, SDG-9: Innovation and Infrastructure, SDG-16: Peace and Justice and strong institutions, and SDG-17: Partnerships for the Goals. But knowledge, understanding and awareness in SDGs in staff and students are so little. Whereas everyone has continued to carry out activities or projects linked to the SDGs. However, they do not understand the relevance or relationship in the SDGs. Five strategies of the Sripatum University to encourage faster achievement of the targeted SDGs are proposed are as follows: Curriculum Integration, Research and Innovation, Community Engagement, Partnerships and Collaboration and Communication.
  • รายการ
    การพัฒนารูปแบบการบูรณาการการศึกษาทั่วไปกับสหกิจศึกษา ของมหาวิทยาลัยศรีปทุม
    (เครือข่ายเพื่อการพัฒนาอุดมศึกษา ภาคกลางตอนบน 2565, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2565-10-01) ขนิษฐา ชัยรัตนาวรรณ, กิตติภูมิ มีประดิษฐ์, สำรวย เหลือล้น, วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์ และอัจฉราพร โชติพฤกษ์
    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ข้อ คือ เพื่อค้นหาทักษะด้านสังคม(soft skill) ที่ผู้ประกอบการและอาจารย์ที่นิเทศก์งานสหกิจศึกษาต้องการจากนักศึกษาที่เข้าร่วมสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยศรีปทุม และเพื่อพัฒนารูปแบบการบูรณาการการศึกษาทั่วไปกับสหกิจศึกษาของมหาวิทยาลัยศรีปทุม โครงการวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 เป็นการศึกษาจากเอกสาร รายงาน วารสารและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้องและเชื่อถือได้ และส่วนที่ 2 เป็นการสนทนากลุ่มเพื่อระดมความคิดเห็นของอาจารย์ที่นิเทศก์งานสหกิจศึกษา จำนวน 16 คน และตัวแทนสถานประกอบการ จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิจัยเป็นข้อคำถามแบบปลายเปิด (open-ended questionnaires) การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า ทักษะด้านสังคม (soft skill) ของนักศึกษาที่ควรได้รับการบ่มเพาะก่อนเข้าร่วมสหกิจศึกษา มี 16 ทักษะ ได้แก่ 1) ทักษะด้านคุณธรรม จริยธรรม 2) ทักษะด้านการสื่อสารและการนำเสนอ 3) ทักษะด้านการคิดเชิงสร้างสรรค์ 4) ทักษะด้านการสร้างนวัตกรรม 5) ทักษะด้านการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ 6) ทักษะด้านการแก้ปัญหา 7) ทักษะด้านการทำงานร่วมกัน 8) ทักษะด้านสื่อและเทคโนโลยี 9) ทักษะเฉพาะในสายอาชีพ 10) ทักษะด้านการใช้ชีวิตตามสภาพแวดล้อมในชีวิตประจำวัน 11) ทักษะด้านทัศนคติ 12) ทักษะความเป็นผู้นำ 13) ทักษะด้านอารมณ์ 14) ทักษะด้านการบริหารเวลา 15) ทักษะด้านการจัดการความคิด และ 16) ทักษะด้านเจรจา นอกจากนี้รูปแบบการบูรณาการการศึกษาทั่วไปสามารถดำเนินการได้ 3 แนวทาง คือ 1) การบูรณาการผ่านกิจกรรมต่างๆ เพื่อเป็นฐานในการเรียนรู้ 2) การบูรณาการผ่านพันธกิจของสถาบันการศึกษากับรายวิชาที่เชื่อมโยงกับพันธกิจของสถาบันการศึกษา และ 3) การบูรณาการข้ามรายวิชาและข้ามศาสตร์โดยใช้กิจกรรมเป็นสื่อกลาง
  • รายการ
    สงฆ์ : พุทธนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน
    (มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2566-06-26) ธนภณ สมหวัง
    บทความนี้ต้องการศึกษาถึงแนวความคิดเรื่องสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ที่พระพุทธเจ้าทรงจัดตั้งขึ้นมา ในฐานะนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ที่ยั่งยืน ผลการศึกษาพบว่า แนวความคิดเรื่องการเรียนรู้ที่ยั่งยืนและการเรียนรู้ตลอดชีวิต เป็นแนวความคิดที่มีความสา คัญในสังคมปัจจุบันเป็นอย่างมากเพราะสังคมปัจจุบันเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ซึ่งมีความสอดคล้องกับแนวคิดเรื่องสงฆ์ในพระพุทธศาสนา ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงจัดตั้งชุมชนสงฆ์ขึ้นมาครั้งแรก เพื่อเป็นชุมชนที่มีเป้าหมาย ในการพัฒนาบุคคลให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ และให้เป็นชุมชนแบบอย่างในการเรียนรู้ที่ยั่งยืน โดยทรงวางระเบียบวินัยและหลักธรรมต่าง ๆ การพัฒนาสังคมในปัจจุบันเพื่อก้าวไปสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นการเรียนรู้ตลอดชีวิต จึงสามารถนาเอาแนวคิดและหลักคำสอนที่พระพุทธเจ้าทรงวางไว้ในชุมชนสงฆ์มาประยุกต์ใช้กับสังคมในปัจจุบัน The purpose of this article is to study the concept of the sangha in Buddhism, which was established by Lord Buddha as an innovative approach to sustainable learning. The research findings indicate that the concept of sustainable learning and lifelong learning is highly significant today, which is a learning society that aligns with the concept of Sangha in Buddhism. Lord Buddha established the Sangha as the first monastic community with the goal of developing individuals into lifelong learners and serving as a model community for sustainable learning. The Sangha established discipline and moral principles to develop its members into individuals of learning and enable them to go out and develop other individuals, communities, or societies as learning entities. The current societal development towards becoming a learning society can therefore benefit from the teachings and principles laid down by Lord Buddha within the Sangha community, focusing on lifelong learning and sustainable learning.
  • รายการ
    THE PRIORITIZATION OF SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS (SDGS) AMONG STUDENT OF SRIPATUM UNIVERSITY IN THAILAND
    (Kasetsart Business School, Kasetsart University., 2566-02-24) Dhanapon Somwang; ธนภณ สมหวัง
    The Sustainable Development Goals (SDGs) are a universal action to ensure peace and prosperity by 2030 by rising to meet various challenges. Achieving the SDGs requires every party to take part, including unversity students This research aimed to study prioritization of SDGs and identify knowledge, perceptions and awareness about the SDGs among students at Sripatum Univesity in Thailand. The research instrument is divided into 2 parts: 1) priority level 17 goals of SDGs 2) Opinions about knowledge, perceptions and awareness. The data was collected using online questionnaire from 125 first-year students from 2 clusters. Statistics used in data analysis were frequency, percentage and standard deviation. The result showed that most of the respondents were male, 83 people of 66.4%. The age range is 18 -21 years old, 94 people, representing 75.2%. Clusters are science and engineer of 53 people accounted for 42.4% and social science of 72 people accounted for 57.6%. The top 5 SDGs according to mean were SDg4: Quality Education (mean = 4.51), SDG13: Climate Action (mean = 4.50 ), SDG3: Good Health and Well-Being (mean = 4.49), SDG8: Decent Work and Economic Growth(mean = 4.47), SDG5: Gender Equality (mean = 4.33). Of the total respondents, They believed that it is necessary to know about the SDGs 91.2 %, to perceive 92.0% and to aware 93.6%.
  • รายการ
    THE PRIORITIZATION OF SUSTAINABLE DEVELOPMENT GOALS (SDGS) AMONG STUDENT OF SRIPATUM UNIVERSITY IN THAILAND
    (Kasetsart Business School, Kasetsart University., 2566-02-24) Kanidta Chairattanawan and Dhanapon Somwang
    The Sustainable Development Goals (SDGs) are a universal action to ensure peace and prosperity by 2030 by rising to meet various challenges. Achieving the SDGs requires every party to take part, including unversity students. This research aimed to study prioritization of SDGs and identify knowledge, perceptions and awareness about the SDGs among students at Sripatum Univesity in Thailand. The research instrument is divided into 2 parts : 1) priority level 17 goals of SDGs 2) Opinions about knowledge, perceptions and awareness. The data was collected using online questionnaire from 125 first-year students from 2 clusters. Statistics used in data analysis were frequency, percentage and standard deviation. The result showed that most of the respondents were male, 83 people of 66.4%. The age range is 18 -21 years old, 94 people, representing 75.2%. Clusters are science and engineer of 53 people accounted for 42.4% and social science of 72 people accounted for 57.6%. The top 5 SDGs according to mean were SDg4 : Quality Education (mean = 4.51), SDG13 : Climate Action (mean = 4.50 ), SDG3 : Good Health and Well-Being (mean = 4.49), SDG8 : Decent Work and Economic Growth(mean = 4.47), SDG5 : Gender Equality (mean = 4.33). Of the total respondents, They believed that it is necessary to know about the SDGs 91.2 %, to perceive 92.0% and to aware 93.6%.
  • รายการ
    Megastigmanes from the aerial part of Euphorbia heterophylla
    (Phytochemistry Letters, 2564-08) Monnapa Thapsut; มนนภา เทพสุด
    Three unprecedented megastigmanes together with twelve known compounds were isolated from the aerial part of Euphorbia heterophylla. The structural elucidation was based on extensive uses of spectroscopic data. The absolute configuration assignment of 1 was based on NOESY correlations and comparison of the experimental and calculated ECD spectra. Selected isolates obtained in sufficient quantity were evaluated for their cytotoxic activity.
  • รายการ
    16 SOFT SKILL THOUGHT TEACHING AND LEARNING IN FUTURE OF WORK
    (Kasetsart University, Bangkok, Thailand., 2565-03-17) Kanidta Chairattanawan
    Suitable soft skills in professional career working in Thailand are important in post COVID-19 Era. The research aims to 1) find the most essential soft skill for employment and 2) study alternative guideline to development soft skill for higher education management. There were 2 phase of data collection in this study. The first phase was documentary research, And the second phase was conducted qualitatively using an in-depth interview and two focus group interviews were conducted with 27 participants consisting of 3 job mentor, 16 cooperation advisor/job mentor and 8 representatives of establishment respectively. All information was analyzed by using content analysis. The results revealed 16 soft skills as follows: 1) communication skills 2) leadership 3) negotiation skills 4) work ethics 5) decision-making 6) design thinking 7) innovation skills 8) analytical and synthetic skills 9) problem solving 10) teamwork 11) media and technology skills 12) professional skills 13) environment life skills 14) emotional skills 15) time management and 16) willingness to learn skills. Both cooperation advisor and representatives of establishment present the development of soft skill by using general education curriculum to implement a volunteer project based on subject education in three ways: 1) integration through various activities 2) integration through the mission of the higher educational institution with participate course and 3) cross-curricular and cross-disciplinary integration. Finally higher education and enterprises must be collaboration for development of soft skills together.
  • รายการ
    การวิเคราะห์ผลการออกรางวัลที่หนึ่งของสลากกินแบ่งรัฐบาล
    (สำนักวิจัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม, 2563-12-18) อำนาจ วังจีน; บงกช ธนวงศ์วิสูตร
    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความถี่ในการเกิดขึ้นของเลขในหลักที่ 1 – 6 นับจากหลักหน่วย 2) การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวเลขในหลักที่ 1 – 6 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขในหลักที่ 1 – 6 ใช้ข้อมูลผลการออกฉลากกินแบ่งรัฐบาลรางวัลที่ 1 ย้อนหลัง 20 ปี จำนวน 478 งวด สถิติที่ใช้ได้แก่ จำนวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน สถิติทดสอบ t สถิติทดสอบ chi-square และ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า 1) ความถี่ในการออกเลขในหลักที่ 1 - 6 ค่อนข้างแตกต่างกัน โดยหลักที่หกเลขที่ออกบ่อยที่สุดได้แก่ 1, 5 และ 9 หลักที่ห้าตัวเลขที่ออกบ่อยที่สุดคือ 1 หลักที่สี่ตัวเลขที่ออกบ่อยที่สุดคือ 6 หลักที่สามตัวเลขที่ออกบ่อยที่สุดคือ 3 และ 4 หลักที่สองตัวเลขที่ออกบ่อยที่สุดคือ 5 และ หลักที่หนึ่งตัวเลขที่ออกบ่อยที่สุดคือ 7 และเป็นหลักที่มีร้อยละของตัวเลขที่เกิดบ่อยที่สุดคือ 7 และเกิดน้อยที่สุดแตกต่างกันสุงที่สุด 2) การแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวเลขทั้ง 6 หลักมีค่าเฉลี่ยเท่ากับค่าเฉลี่ยของการแจกแจงแบบยูนิฟอร์มที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 เมื่อทดสอบการแจกแจงด้วยสถิติทดสอบไค-สแควร์ พบว่าตัวเลขในหลักที่ 2 – 6 มีการแจงแจงความน่าจะเป็นแบบยูนิฟอร์ม ส่วนตัวเลขในหลักที่ 1 (หลักหน่วย) มีการแจกแจงแตกต่างไปจากการแจงแจงแบบยูนิฟอร์มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05 3) ตัวเลขทั้ง 6 หลักไม่มีความสัมพันธ์กันทางสถิติ สรุปได้ว่าผลการออกรางวัลที่หนึ่ง ตั้งแต่หลัก 2 – 6 (นับจากทางซ้าย) เป็นไปอย่างสุ่มด้วยการแจกแจงแบบยูนิฟอร์ม ส่วนเลขหลักที่ 1 หรือตัวสุดท้ายของรางวัลที่ 1 มีการแจกแจงไม่เป็นแบบยูนิฟอร์มจะเด่นที่เลข 7 และด้อยที่เลข 9