S_ISI-05. บทความที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติ)

URI ถาวรสำหรับคอลเล็กชันนี้

เรียกดู

การส่งล่าสุด

ตอนนี้กำลังแสดง1 - 7 ของ 7
  • รายการ
    การศึกษาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากรสานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์.
    (2564-10-18) นิสากร เนตรเพ็ง, ผุสดี กลิ่นเกษร.
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ จํานวน 2ข้อ คือ1) เพื่อศึกษาลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากร สายสนับสนุน ระดับบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ 2) เพื่อศึกษาแนวทาง ส่งเสริ มการเรี ยนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงาน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์กลุ่มตัวอยาง่ คือ บุคลากรสายสนับสนุน ระดับบังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงาน ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จํานวน 232คน โดยการสุ่มตัวอยางแบบแบ ่ ่งชั้นภูมิ เก็บรวบรวมข้อมูลเป็ นสองระยะ คือ ระยะที่ 1 เก็บข้อมูลเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามลักษณะเป็ นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระยะที่ 2 เก็บข้อมูลเชิงคุณภาพโดย การสนทนากลุ่ม เครื่องมือที่ใช้คือคู่มือประกอบการสนทนากลุ่ม เพื่อศึกษาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของบุคลากรสํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ วิเคราห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบวา ่ 1)ผลการศึกษาลักษณะการเรียนรู้ตลอดชีวิต ของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับบังคับ บัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประกอบไปด้วย 6 ด้าน คือ ด้านเจตคติ ด้านเป้าหมาย ในการเรียนรู้ ด้านการควบคุมตัวเองในการเรียนรู้ ด้านการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ ด้านการสื่อสาร และด้าน การแก้ไขปัญหา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ซึ่ งด้านเจตคติมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านเป้าหมายใน การเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยตํ่าสุด 2)ผลการศึกษาแนวทางส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของบุคลากรสายสนับสนุน ระดับ บังคับบัญชาและระดับปฏิบัติการ สํานักงานราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ ประกอบไปด้วย 6 ด้าน คือ ด้านเจตคติ ควรจัดหาทรัพยากรสารสนเทศของห้องสมุดที่เป็นฐานข้อมูลออนไลน์ และควรสร้างแรงจูงใจให้เกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวิตด้วยการสนับสนุนรางวัลหรือการให้ค่าตอบแทนเพิ่ มขึ้น เมื่อมีความสามารถพิเศษเพิ่ มขึ้น ด้านเป้าหมาย ในการเรียนรู้ ควรกาหนดช ํ ่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในสัปดาห์ ให้มีการแข่งขันความรู้ที่ได้ค้นหา/อ่าน มานําเสนอหรือ ระดมสมองแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกนและก ั น และควรประชาสัมพันธ์หนังสือใหม ั ่และหนังสือน่าอ่านลงบอร์ด ประชาสัมพันธ์ต่างๆ และจัดมุมนั่ งอ่านหนังสือตามโซนต่างๆ เพื่อกระตุ้นความสนใจในการอ่านหนังสือในแต่ละวัน ด้านการควบคุมตนเองในการเรียนรู้ องค์กรควรสนับสนุนให้บุคลากรได้ฝึ กฝนการสร้างสมาธิ ผ่านโครงการ สมาธิเพื่อสร้างปัญญา ด้านการเรียนรู้อยางสร้างสรรค์ ควรส ่ ่งเสริมให้มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกนและก ั น ั ไม่วาจะในระดับเดียวก ่ นหรือต ั ่างระดับ รวมไปถึงการแลกเปลี่ยนเรียนรู้นอกสายงาน เพื่อเกิดเป็ นองค์ความรู้ใหม่ ให้กบตนเอง ด้านการสื่อสาร ั ควรส่งเสริมให้บุคลากรได้ฝึ กภาษาที่หลากหลายกบเจ้าของภาษาโดยตรง อาจจัดซื ั ้อ โปรแกรมหรือแอพลิเคชันที่ช ่ ่วยฝึ กทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อให้บุคลากรมีประสิทธิภาพในการสื่อสารที่ดี มากยิ่ งขึ้น และด้านการแกไขปัญหา ควรส ้ ่งเสริมโดยการเชิญวิทยากรที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ และมีประสบการณ์ ในเรื่องการแกไขปัญหาในการทํางานมาบรรยายให้ก ้ บบุคลากรในองค์กร เพื่อเพิ ั ่ มศักยภาพและลดความผิดพลาด ในการทํางาน
  • รายการ
    การพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง.
    (2565-10-18) ปิยะพงษ์ ธรรมรักษ์, ผุสดี กลิ่นเกษร.
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรี ยนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง (2) เพื่อเปรี ยบเทียบระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรี ยนก่อนเรียนและ หลังเรียนโดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ ั ่ ง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกับการเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ง จํานวน 5 แผน มีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด แบบประเมินสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ท้ายคาบโดยนักเรียน และแบบทดสอบวัดความฉลาดทางดิจิทัล มีค่าความเชื่อมันที่ ่ 0.79 กลุ่มตัวอยาง คือ นักเรียนชั ่ ้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2564 โรงเรียนสกลราชวิทยานุกูล จังหวัดสกลนคร จํานวน 160 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วย สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที แบบ dependent samples ผลการศึกษาวิจัยพบวา ( ่ 1) การจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบการเรียนรู้ ั แบบไมโครเลิร์น นิ่ง มี 6 องค์ประกอบ คือ การกาหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ การวางแผนลําดับเนื ํ ้อหาการสอน การทําวิดีโอ การสอนหรื อแหล่งข้อมูลสืบค้น การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง การทํากิจกรรมในห้องเรี ยน และการวัด ประเมินผล (2) ระดับความฉลาดทางดิจิทัลของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านร่วมกบั การเรียนรู้แบบไมโครเลิร์นนิ่ ง สูงกวาก่ ่อนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . ่ 05
  • รายการ
    การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสานักงานเขตบางเขน กรุงเทพมหานคร.
    (2564-10-18) บุญลัดดา ปริสุทธ, ผุสดี กลิ่นเกษร.
    บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการ ทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 (2) เพื่อเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ เรื่องวิธีการทาง ประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6ก่อนและหลังเรียนโดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมเป็ นฐานเครื่องมือวิจัย ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้มีค่าประสิทธิภาพ และ แบบทดสอบ วัดผลการเรี ยนรู้มีค่าความเชื่อมั่ นที่ .56กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรี ยนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรี ยนสังกัด สํานักงานเขตบางเขนกรุงเทพมหานคร จํานวน 36คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย (x�) ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน (S.D.) สถิติทดสอบ (t) ร้อยละหรือเปอร์เซ็น (Percentage) และ การใช้การหาประสิทธิภาพ (E1/E2) ผลการศึกษาวิจัย พบวา่ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 พบวา ค่ ่าประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 (E1/E2) ของชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เท่ากบ ั 85.87/85.19 2)ผลการเปรียบเทียบคะแนนของการทดสอบก่อนและหลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 พบว่า คะแนนทดสอบ หลังจากเรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็ นฐาน เรื่องวิธีการทางประวัติศาสตร์ สําหรับนักเรียน ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ 6 สูงกวาคะแนนทดสอบก ่ ่อนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ. ่ 05 (t=16.37; p < .05)
  • รายการ
    การพัฒนานิทานแอนิเมชั่นเพื่อส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี.
    (2564-10-18) ธนัทพัชร์ อยู่โต, ผุสดี กลิ่นเกษร.
    การวิจัยครั้งนี้เป็ นรูปแบบการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อพัฒนานิทานแอนิ-เมชัน่ เป็ น สื่อจัดการเรี ยนรู้ในการส่งเสริ มความสามาสามารถด้านการฟังและการพูด 2) เพื่อศึกษาและเปรี ยบเทียบ ความสามารถในการฟังและการพูดโดยใช้นิทานแอนิเมชัน่ จัดการเรียนรู้ ก่อนการทดลองและหลังการทดลองของ เด็กปฐมวัย กลุ่มตัวอยางที่ใช้ในการวิจัย คือ เด็กนักเรียนปฐมวัย สังก ่ ดองค์กรปกครองส ั ่วนท้องถิ่ น อําเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี จํานวน 20คน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละ ดัชนี ประสิทธิผล และสถิติในการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบวา ่ 1) ได้พัฒนานิทานแอนิเมชัน่ จัดการเรียนรู้เพื่อ ส่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัยซึ่งผลรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญที่มีต่อนิทาน แอนิเมชันทุกด้านล้วนมีความเหมาะสมและเห็นด้วยอยู ่ ในระดับมากที่สุด และผลการวิเคราะห์หาประสิทธิผลของ ่ การจัดใช้นิทานแอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ เพื่อส ่ ่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูดของเด็กปฐมวัย จํานวน 20 คน มีค่าดัชนีประสิทธิผลเท่ากบ ั 0.8531 แสดงวานักเรียนมีความรู้เพิ ่ ่ มขึ้น 0.8531 หรือคิดเป็ นร้อยละ 85.31 2) ผลการทดลองใช้นิทานแอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ เพื่อส ่ ่งเสริมความสามารถด้านการฟังและการพูด ของเด็กปฐมวัย ค่าเฉลี่ยโดยรวมของคะแนนความสามารถในการฟังและการพูดของเด็กนักเรียนหลังการใช้นิทาน แอนิเมชันเป็ นสื่อจัดการเรียนรู้มีค ่ ่าเฉลี่ยเท่ากบ ั 18.70 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากบ ั 1.03 คิดเป็ นร้อยละ 93.5 อยูในระดับ ดีมาก และผ ่ านเกณฑ์ที่ก ่ าหนด ํ และผลการทดลองที่ได้รับการจัดประสบการณ์โดยการใช้นิทานแอนิเมชัน่ เป็ นสื่อจัดการเรียนรู้ หลังเรียนสูงกวาก่ ่อนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . ่ 05
  • รายการ
    การบูรณาการทฤษฎีการเรียนรู้ของผู้ใหญ่และการเรียนรู้โดยการชี้นําตนเอง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ผู้เรียนวัยผู้ใหญ
    (2565-07-25) ผุสดี กลิ่นเกษร
    การเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญเปนการเรียนรูที่อาศัยความเชื่อพื้นฐานมาจากทฤษฎีการเรียนรูของ ผูใหญและการเรียนรูโดยการชี้นําตนเอง โดยทฤษฎีการเรียนรูของผูใหญ (Adult Learning Theory) คือ ศาสตรและศิลปในการสอนใหผูใหญเกิดการเรียนรูที่มีความแตกตางจากการเรียนรูของเด็ก โดยผูใหญจะมีการ เขาใจตอตนเอง มีประสบการณ มีความพรอมที่จะเรียนรู และมีเปาหมายในการเรียนรูของตนเอง ซึ่งสิ่งเหลานี้ ทําใหการเรียนรูของผูใหญมีความแตกตางจากของเด็กสงผลใหผูเรียนที่เปนผูใหญมีการเรียนรูที่สามารถชี้นํา ตนเองได การเรียนรูโดยการชี้นําตนเองเปนการเรียนรูที่ผูเรียนตองรับผิดชอบการเรียนรูของตนเอง เปนกระบวนการที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ และเนนการเรียนรูที่เปนอิสระ การเรียนรูตองสามารถตอบสนอง ความตองการของผูเรียนได นอกจากนี้ผูเรียนที่เปนวัยผูใหญจะมีลักษณะของการเรียนรูโดยการชี้นําตนเองของ แตละบุคคลที่แตกตางกันออกไปตามคุณวุฒิ วัยวุฒิ และประสบการณของบุคคล ซึ่งลักษณะของการเรียนรูโดย การชี้นําตนเองเปนการเรียนรูที่มีความสําคัญยิ่ง เนื่องจากเปนการสงเสริมใหผูใหญมีการพัฒนาศักยภาพและ ความสามารถของตนเองไดอยางไมมีขีดจํากัด ซึ่งเปนการยกระดับการเรียนรูของผูเรียนวัยผูใหญในยุคปจจุบัน ที่ตองมีการเรียนรูอยูตลอดเวลาอยางสม่ําเสมอตอเนื่องหรือเปนการเรียนรูตลอดชีวิตนั่นเองเพื่อใหสอดคลอง กับการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21
  • รายการ
    นวัตกรรมกระบวนการการเรียนรู้โดยการชี้นำตนเองของผู้เรียนวัยผู้ใหญ่.
    (2564-10) ผุสดี กลิ่นเกษร
    การเรียนนรู้โดยการชี้นําตนเอง(Self-Directed Learning) เป็ นกระบวนการที่มีความสําคัญและมีบทบาท อย่างมากในผู้เรี ยนวัยผู้ใหญ่ ซึ่ งเน้นที่ผู้เรี ยนเป็ นสําคัญ เนื่องจากเป็ นกระบวนการที่บุคคลคิดริเริ่มขึ้นเพื่อ ตอบสนองความต้องการในการเรียนรู้ ตามความสนใจ ความต้องการ ความถนัด เป้าหมายของตนเอง ภายใต้ องค์ประกอบของการเรียนรู้โดยการชี้นําตนเองได้แก่ความรับผิดชอบในตัวบุคคล (personal responsibility) การเป็ นผู้เรียนที่มีลักษณะชี้นําตนเองได้(learner self-direction) การเรียนรู้โดยชี้นําตนเอง (self-directed learning) ของปัจเจกบุคคลแต่ละบุคคล และปัจจัยภายในสิ่งแวดล้อมทางสังคม (factors within the social context) โดยได้ นําศาสตร์และศิลป์ ในการช่วยให้ผู้ใหญ่เกิดการเรียนรู้ ดังนี้ ความเข้าใจต่อตนเอง (Self-concept) ประสบการณ์ (Experience) ความพร้อมที่จะเรียนรู้ (Readiness to Learn) และเป้าหมายในการเรียนรู้ (Orientation to Learning) เข้ามาพัฒนาความรู้ ความสามารถ ทักษะ และศักยภาพ ตลอดจนทัศนคติของผู้เรียนวัยผู้ใหญ่เพื่อช่วยให้ผู้ใหญ่ได้ เกิดการเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ ที่มีลักษณะของการเรียนรู้โดยการชี้นําตนเองได้มีความคิดที่สร้างสรรค์จนเกิดเป็ น นวัตกรรมกระบวนการในตัวบุคคลเฉพาะแต่ละบุคคลที่มีความแตกต่างกนัออกไป และเป็ นการสร้างคุณค่าให้แก่ ตัวบุคคลอีกด้วย ดังนั้น ปัจจัยสําคัญที่สามารถทําให้เกิดนวัตกรรมกระบวนการได้ คือ ทัศนคติ ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และศักยภาพของทัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็ นหัวใจหลักในการพัฒนาผู้เรียนวัยผู้ใหญ่ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไป ในทิศทางที่ดีขึ้น สามารถดํารงชีวิตและแกปัญหาที่เผชิญอ ้ ยู่ได้ภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทั้งทางด้านเทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในยุคปัจจุบันน
  • รายการ
    การสร้างแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิงบูรณาการของนักศึกษา หลักสูตร . วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยศรีปทุม ณัชนรี นุชนิยม
    (หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการ (Proceedings) ครั้งที่ 14 ประจำปี 2562 การสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ของผู้เรียนเพื่อสังคมที่หลากหลาย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย “Inspiring Student Learning for Diverse Societies” สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา สมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย, 2562-03-29) ณัชนรี นุชนิยม
    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิง บูรณาการของนักศึกษาสาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (2) สรุปผลการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิงบูรณาการของนักศึกษาจากการสร้างสรรค์ชิ้นงานในโครงการ Idea Market ที่จัดขึ้นในปีการศึกษา 2561 การวิจัยเป็นแบบผสานวิธีทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการสร้างแรงบันดาลใจ ในการเรียนรู้ด้วยกรอบความคิดเชิงบูรณาการ เก็บรวบรวมโดยวิธีการสัมภาษณ์ จากการสังเกต ข้อมูลพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ และใช้การวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อใช้ใน การประเมินผลงานโดยผู้ทรงคุณวุฒิ (Rubric Score) และอาจารย์ประจำรายวิชา ทั้งนี้กลุ่มเป้าหมายเป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จำนวน 29 คน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ความถี่ ค่าร้อยละ และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผลจากการสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ด้วยกรอบแนวคิดเชิงบูรณาการ โดยการสร้างแรงบันดาลใจนี้นักศึกษาสาขาวิชาสหวิทยาการ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ใช้รูปแบบการเรียนรู้ 3 ขั้นตอน คือ 1) การถอดกรอบ พิจารณาปัญหา และศึกษาองค์ความรู้ เพื่อได้ข้อสรุป และวิธีการในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้ด้วยตนเองในรูปแบบ การทำงานเป็นทีม (Teamwork) 2) การขยายกรอบ วิเคราะห์และเชื่อมโยงที่มาของแนวคิด โดยนำองค์ความรู้ มาประยุกต์ใช้ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างต่อเนื่อง 3) การคลุมกรอบ เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงเนื้อหา ข้อมูล ได้กรอบความคิดใหม่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน ผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า ผลการประเมินการเรียนรู้โดยผู้ทรงคุณวุฒิและอาจารย์ประจำรายวิชา การสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษานั้น การสร้างแรงบันดาลใจที่เกิดจากการสร้างสรรค์ผลงาน โดยค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ กระเป๋าผ้าพรรณารา 3.40 รองลงมา คือ สมุด (ถนอมสายตา) 3.20 รองลงมา คือ ผลิตภัณฑ์ Der Fleur corp. 2.34 ตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับกรอบแนวคิดเชิงบูรณาการ พัฒนาการเรียนรู้และทักษะทางการคิดของนักศึกษา โดยผ่านแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ชิ้นงาน