การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเส้นทางและที่ว่าง : กรณีศึกษาอาคาร 5 มหาวิทยาลัยศรีปทุม

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2561

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เชิงนามธรรม

จากการเรียนพื้นฐานทางสถาปัตยกรรม CIRCULATION เป็นส่วนหนึ่งของการออกแบบแต่บางทีก็มีการละเลยหรือให้ความสำคัญกับทางสัญจรซึ่งส่วนใหญ่ทางสัญจรจะมาทีหลัง หลังจากที่มีการวางตัว FUNCTION ทำให้เกิดข้อสงสัยขึ้นว่า หาก CIRCULATION สามารถเป็นแนวคิดหลักในกระบวนการออกแบบสถาปัตยกรรมรูปแบบความสัมพันธ์ของตัว FUNCTION และ SPACE จะสามารถทำให้พื้นที่ พื้นที่หนึ่ง เกิดการปรับเปลี่ยนทางพฤติกรรมของผู้ใช้ได้อย่างไร จึงหาตัวอย่างของอาคารที่มีรูปแบบปกติ และนำมาวิเคราะห์ ความสัมพันธ์แฝงที่เกิดขึ้นกับ FUNCTION นั้น ศึกษารูปแบบการทำงาน ศึกษารูปแบบการเกิดการใช้งานในบางช่วงเวลาเฉพาะที่จะทำให้พื้นที่ นั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นมาในรูปแบบใหม่และทำหน้าที่กลายไปเป็นอีกหนึ่ง FUNCTION และผลจากการศึกษาอาคาร 5 มหาวิทยาลัยศรีปทุม จากชั้นที่ 1-5 ทำให้รู้รูปแบบความสัมพันธ์แฝงที่เกิดขึ้นภายในตัวอาคาร และพฤติกรรมของผู้ใช้ที่ตัวอาคารมาสามารถตอบสนองความต้องการได้ ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางความสัมพันธ์และตอบโจทย์ ต่อพฤติกรรมของผู้ใช้และสร้างทางเชื่อมต่อ โดยไม่ยึดติดกับข้อจำกัดในทางของVerticalลบภาพของการใช้งานในข้อจำกัดในรูปแบบห้อง หรือมีผนังมากั้น

คำอธิบาย

วิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรม หลักสูตรวิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรม หลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

คำหลัก

FRANCIS DK CHING IN ARCHITECTURE

การอ้างอิง

กฤติญา ลีเดร์. 2561. "การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเส้นทางและที่ว่าง : กรณีศึกษาอาคาร 5 มหาวิทยาลัยศรีปทุม." ผลงานนักศึกษา คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.