การศึกษาการเพิ่มสมรรถนะแผงเซลล์แสงอาทิตย์

dc.contributor.authorพศวีร์ ศรีโหมดth_TH
dc.contributor.authorเติมพงษ ์ศรีเทศth_TH
dc.contributor.authorวิชชากร เฮงศรีธวัชth_TH
dc.contributor.authorพงศกร เจริญสุขth_TH
dc.date.accessioned2564-03-25T02:24:01Z
dc.date.available2021-03-25T02:24:01Z
dc.date.issued2563-10-30
dc.description.abstractบทความนี้นําเสนอการศึกษาวิธีการเพิ่มสมรรถนะแผงเซลล์ แสงอาทิตย์ มีจุดประสงค์เพื่อทดลองและวิเคราะห์การเพิ่มการผลิต พลังงานไฟฟ้าของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ โดยวิธีการลดอุณหภูมิและเพิ่ม ความเข้มแสงให้กับแผงเซลล์ โครงงานนี้ทดลองนำน้ำหล่อเย็นอุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส มาลดอุณหภูมิและออกแบบแผ่นกระจกเงาสะท้อน แสงเพื่อเพิ่มความเข้มแสงอาทิตย์ให์กับแผงเซลล์ และทำการบันทึกค่า พลังงานไฟฟ้าที่ระบบผลิตได้ตลอดระยะเวลา 3 เดือน เพื่อเปรียบเทียบ สมรรถนะที่เพิ่มขึ้น และวิเคราะห์ระยะเวลาการคืนทุน ผลจากการทดลอง แผงเซลล์แสงอาทิตย์ที่นําน้ำเย็นมาลดอุณหภูมิมีการผลิตพลังงานไฟฟ้า เพิ่มขึ้น21.62 % เมือเทียบกับแผงปกติและแผงที่นำน้ำเย็นมาลดอุณหภูมิ ร่วมกับการเพิ่มความเข้มแสงมีการผลิตพลังงานไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจากแผง ปกติถึง 28.78% แต่เมื่อวิเคราะห์ระยะเวลาการคืนทุนของโครงการ พบว่า การลงทุนโดยวิธีการลดอุณหภูมิของแผงเพียงอย่างเดียว คืนทุนได้เร็ว ที่สุดโดยมีระยะเวลาคืนทุนเพียง 8 ปี 3 เดือนth_TH
dc.identifier.citationการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43th_TH
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7352
dc.language.isothth_TH
dc.publisherการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมไฟฟ้า ครั้งที่ 43th_TH
dc.subjectแผงเซลล์แสงอาทิตย์th_TH
dc.subjectระบบหล่อเย็นth_TH
dc.subjectความเข้มแสงอาทิตย์th_TH
dc.titleการศึกษาการเพิ่มสมรรถนะแผงเซลล์แสงอาทิตย์th_TH
dc.typeArticleth_TH

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
EECON-43-RE11.pdf
ขนาด:
649.34 KB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.71 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: