กฎหมายประกันภัยพืชผล : ศึกษากรณียางพารา

dc.contributor.authorณฐภัทร ถิรารางค์กูลen_US
dc.date.accessioned2555-11-19T03:33:47Z
dc.date.available2555-11-19T03:33:47Z
dc.date.issued2555-11-19T03:33:47Z
dc.description.abstractประเทศไทยเป็นประเทศที่มีการผลิตยางพาราเป็นอันดับหนึ่งของโลกมีประชากรปลูกยางพาราเป็นจำนวนร้อยละ10 ของจำนวนประชากรในประเทศ แต่เกษตรกรสวนยางพาราส่วนใหญ่ ร้อยละ 80-90 เป็นเจ้าของสวนยางพาราขนาดเล็ก ซึ่งยังไม่มีเงินทุนสำรองเพื่อเป็นหลักประกันในการปลูกยางพาราใหม่ เมื่อเกิดภัยพิบัติจากธรรมชาติ เช่น ฝนแล้ง น้ำท่วมวาตภัย เป็นต้น ภัยพิบัติธรรมชาตินอกจากทำให้เกิดการสูญเสียผลผลิตยางพาราและยังขาดรายได้จากการกรีดยางพารา การประสบภัยพิบัติแต่ละครั้งเนสาเหตุให้เกษตรกรจำเป็นต้องกู้ยืมเงินมาปลูกยางพาราใหม่เพื่อทดแทนความเสียหายที่เกิดขึ้น ทำให้เกษตรกรมีภาระหนี้สินตามมา ทั้งรัฐบาลทุกสมัยได้พยายามช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของเกษตรกรสวนยางพาราที่ได้รับความเสียหายจากธรรมชาติ แต่ก็ยังไม่มีมาตราการใดที่เหมาะสมและเป็นแนวทางที่เป็นรูปธรรม...en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.identifier.citationณฐภัทร ถิรารางค์กูล. 2551. "กฎหมายประกันภัยพืชผล : ศึกษากรณียางพารา." การค้นคว้าอิสระ/สารนิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
dc.identifier.urihttps://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/4111
dc.language.isootheren_US
dc.subjectประกันภัยen_US
dc.subjectยางพาราen_US
dc.titleกฎหมายประกันภัยพืชผล : ศึกษากรณียางพาราen_US
dc.typeThesisen_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ
ชื่อ:
IS_51_นบ_ณฐภัทร ถิรารางค์กูล.pdf
ขนาด:
8.62 MB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.73 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: