เมื่อภาวะโลกร้อน กลายเป็นความปกติใหม่
dc.contributor.author | มนนภา เทพสุด | th_TH |
dc.contributor.author | Monnapa Thapsut | th_TH |
dc.date.accessioned | 2564-06-10T01:43:57Z | |
dc.date.available | 2021-06-10T01:43:57Z | |
dc.date.issued | 2563-12-03 | |
dc.description.abstract | ผลกระทบที่เกิดจากภาวะโลกร้อน ทั้งไฟป่า น้าแข็งขั้วโลกละลาย และการละลายตัวของชั้นดินเยือกแข็ง (Permafrost) คงตัว ถือเป็นปัจจัยป้อนกลับที่ซ้าเติมให้โลกร้อนยิ่งขึ้น เหตุเพราะเมื่อไฟป่าลุกไหม้ จะทาให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถูกผลิตออกมาสู่ชั้นบรรยากาศได้มากขึ้น ส่วนการละลายตัวของน้าแข็งขั้วโลก ก็จะส่งผลให้ผืนน้าแข็งสีขาวที่เหลือมีศักยภาพสะท้อนความร้อนสู่อวกาศได้น้อยลง แต่ปริมาณน้าซึ่งมีศักยภาพดูดซับความร้อนไว้ได้ดีกลับเพิ่มมากขึ้น โลกจึงร้อนยิ่งขึ้นได้อย่างเป็นวงจรไม่มีที่สิ้นสุด หากยังไม่มีการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตใหม่ และร่วมกันเร่งแก้ปัญหาภาวะโลกร้อนกันอย่างจริงจัง โอกาสที่ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ชั้นบรรยากาศจะเพิ่มสูงต่อไป จนถึงขีดอันตรายที่ระดับ 450 ส่วนในล้านส่วน ซึ่งจะส่งผลให้อุณหภูมิเฉลี่ยบนผิวโลกสูงเกินกว่า 2 องศาเซลเซียส (จากระดับก่อนยุคอุตสาหกรรม) ก็จะมีความเป็นไปได้สูง ซึ่งถ้าเป็นเช่นนั้น โลกก็จะก้าวเข้าสู่จุดพลิกผัน อันนามาซึ่งการพังทลายของระบบภูมิอากาศ ความล่มสลายในส่วนต่าง ๆ ของระบบสิ่งแวดล้อมโลก และสภาพการณ์เหล่านี้ก็จะกลายเป็นความปกติใหม่ของโลกใบนี้ | th_TH |
dc.description.sponsorship | หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน | th_TH |
dc.identifier.citation | มนนภา เทพสุด.(2020). เมื่อภาวะโลกร้อน กลายเป็นความปกติใหม่. หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน. ปีที่ 43 ฉบับที่ 15608.(น. 9). | th_TH |
dc.identifier.uri | https://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/7599 | |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน | th_TH |
dc.subject | ภาวะโลกร้อน | th_TH |
dc.subject | ความปกติใหม่ | th_TH |
dc.subject | ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ | th_TH |
dc.title | เมื่อภาวะโลกร้อน กลายเป็นความปกติใหม่ | th_TH |
dc.type | Article | th_TH |