บรรพชีวิน ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ : แหล่งเรียนรู้บรรพ์ชีวิน

กำลังโหลด...
รูปภาพขนาดย่อ

วันที่

2565

ชื่อวารสาร

วารสาร ISSN

ชื่อหนังสือ

สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม

เชิงนามธรรม

เมื่อศึกษาจำนวนซากดึกดำบรรพ์ที่พบได้ พบว่ามีปริมาณน้อยลงมากเมื่อเทียบกับปริมาณสิ่งมีชีวิตทั้งหลายที่เคยมีชีวิตอยู่บนโลก ซากสิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่ถูกทำลายไปตามธรรมชาติ ดังนั้นการเก็บรักษาซากสิ่งมีชีวิตจนกระทั่งกลายเป็นซากดึกดำบรรพ์จึงมีความจำเป็นอย่างมากที่จะต้องมีสภาวะที่พิเศษซึ่งได้แก่ การขุดค้นซากดึกดำบรรพ์เพราะในประเทศยังไม่มีการขุดค้นซากดึกดำบรรพืแบบเปิดให้คนที่มาศึกษาได้มีโอกาสขุดค้นซากดึกดำบรรพ์ด้วยตัวเองอย่างจริงจัง จึงเกิดเป็นแหล่งเรียนรู้บรรพ์ชีวินเพื่อให้คนที่เข้ามาศึกษาหาความรู้เกี่ยวกับซากดึกดำบรรพ์ได้มีโอกาสขุดค้นซากดึกดำบรรพ์ด้วยตัวเองแบบอิสระ และเพื่อเป็นการมองเห็นถึงความสำคัญของซากดึกดำบรรพ์ที่มีมาแต่อดีตจึงจำดป็นต้องมีการขุดค้นเพื่อการศึกษาและยังช่วยให้เราได้เรียนรู้ประวัติและวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีการสูญพันธุ์และมีการเกิดขึ้นใหมามาทดแทน รวมทั้งช่วยให้เราทราบประวัติความเป็นมาของโลกว่ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดบ้าง

คำอธิบาย

ตารางและรูปภาพประกอบ

คำหลัก

ซากดึกดำบรรพ์, ไดโนเสาร์ภูน้อย, จังหวัดกาฬสินธุ์

การอ้างอิง

ปริญญา ชื่นตา. 2564. "บรรพชีวิน ซากดึกดำบรรพ์ไดโนเสาร์ : แหล่งเรียนรู้บรรพ์ชีวิน." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.