การนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ: ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

dc.contributor.authorพระมหาสุดใจ คุนาพันธ์,
dc.contributor.authorKUNAPAN, PHRAMAHA SUDJAI
dc.date.accessioned2552-07-27T07:52:42Z
dc.date.available2552-07-27T07:52:42Z
dc.date.issued2551-05
dc.descriptionวิทยานิพนธ์นักศึกษาระดับปริญญามหาบัณฑิตen_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ เรื่อง “การนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ” : ศึกษาเฉพาะ กรณีบทบาทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการนำนโยบายการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติและปัจจัยที่ส่งผลต่อการนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติของ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย การศึกษาศึกษาครั้งนี้ เป็น การศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน ๑๕๙ รูป/คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ แบบสอบถาม แล้วนำมาวิเคราะห์และประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยโปรแกรม สำเร็จรูป จากการศึกษากลุ่มตัวอย่าง พบว่า ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย ด้านเพศ ส่วนใหญ่มีเพศเป็นบรรพชิต คิดเป็นร้อยละ ๖๘.๕๕ มีอายุระหว่าง ๓๑-๔๐ ปี คิดเป็นร้อยละ ๖๐.๓๘ มีอายุพรรษาระหว่าง ๑๑-๑๕ พรรษา มีระดับการศึกษาสายสามัญสูงกว่า ปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๙๔ มีระดับการศึกษาทางบาลี ไม่ได้เปรียญธรรม คิดเป็นร้อยละ ๓๗.๗๐ และมีตำแหน่งการทำงาน ระดับเจ้าหน้าที่ คิดเป็นร้อยละ ๕๗.๘๖ ผู้บริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ของ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีการการนำ นโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ พบว่า โดยภาพรวม อยู่ในระดับ “มาก” มีค่าเฉลี่ย เท่ากับ ๓.๖๖ ด้านกระบวนการนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในประเทศไทย อยู่ใน ระดับ “มาก” มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๘๓ ด้านความคิดเห็นในเรื่องของการนำนโยบายการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยู่ในระดับ “ปานกลาง” มี ค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๔๑ และด้านปัญหาอุปสรรคในการนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาคารพญาไท มหาวิทยาลัยศรีปทุม II ของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อยู่ในระดับ “น้อย” มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ ๓.๗๖ เป็นข้อ คำถามเชิงลบ จากทดสอบสมมติฐานเพื่อค่าความแปรปรวน ในการเปรียบเทียบระหว่างตัวแปรอิสระ กับตัว แปรตาม พบว่า ผู้ริหาร คณาจารย์ เจ้าหน้าที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ด้านอายุพรรษา และด้านวุฒิการศึกษาสายสามัญ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๕en_US
dc.identifier.citationพระมหาสุดใจ คุนาพันธ์. 2551. "การนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ: ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย." วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สำหรับนักบริหาร บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม วิทยาคารพญาไท. .
dc.identifier.urihttp://dspace.spu.ac.th/handle/123456789/1524
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุมen_US
dc.relation.ispartofseriesรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.subjectนโยบายสาธารณะen_US
dc.subjectการเผยแผ่พุทธศาสนาen_US
dc.subjectมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.subjectการนำนโยบายไปปฏิบัติen_US
dc.titleการนำนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปปฏิบัติ: ศึกษาเฉพาะกรณีบทบาทมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยen_US
dc.title.alternativeIMPLEMENTATION OF BUDDHISM DISSEMINATION POLICY: A CASE STUDY OF THE ROLE OF MAHACHULALONGKORNRAJAVIDAYALAYA UNIVERSITYen_US
dc.typeThesisen_US

ไฟล์

ชุดต้นฉบับ
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
Full-Text-MahaSudjai.pdf
ขนาด:
1.37 MB
รูปแบบ:
Adobe Portable Document Format
มัดใบอนุญาต
ตอนนี้กำลังแสดง1 - 1 ของ 1
ไม่มีรูปขนาดย่อ
ชื่อ:
license.txt
ขนาด:
1.72 KB
รูปแบบ:
Item-specific license agreed upon to submission
คำอธิบาย: