การตีความพื้นที่ปฏิบัติธรรมสู่ สถาปัตยกรรมเจริญสติ : พื้นที่ภาวนา สติปัฏฐาน คนเมือง
กำลังโหลด...
วันที่
2565
ผู้เขียน
ชื่อวารสาร
วารสาร ISSN
ชื่อหนังสือ
สำนักพิมพ์
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
เชิงนามธรรม
การปฏิบัติธรรม ในการความเชื่อทางพระพุทธศาสนาถือเป็นแนวทางที่นำไปสู่ความสุขที่เป้นนิรันดร์ ในปัจจุบัน การปฏิบัติธรรม กลับกลายเป็นสิ่งที่ใกล้ตัวจากคนรุ่นใหม่ สาเหตุหนึ่งนั้นมาจากการเข้าใจในความหมายของคำว่า ปฏิบัติธรรม บิดเบือนไปจากหลัก คำสอนของพระพุทธเจ้า และการเข้าถึงยากด้วยระเบียบและวิธีการ ในการปฏิบัติตนในสถานที่นั้นๆ
จากการศึกษาประเด็นงานที่สนใจ ที่เกี่ยวเนื่องกับการปฏิบัติธรรม และไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ ที่นำไปสู่ข้อสรุปของโครงการที่คนรุ่นใหม่สามารถเข้าถึงและเข้าใจความหมายของการปฏิบัติธรรม ได้โดยผ่าน space ที่ผ่านการตีความและให้ความหมายเชิงสัญลักษณ์ ที่สามารถรับรู้ด้วย ตา หู จมูก ผิวสัมผัสเพื่อง่ายต่อการสื่อสารต่อคนรุ่นใหม่
คำอธิบาย
ตารางและรูปภาพประกอบ
คำหลัก
ปฏิบัติธรรม, สมาธิ, space, คนรุ่นใหม่
การอ้างอิง
พิทักษ์ แก้วเพ็ชร. 2564. "การตีความพื้นที่ปฏิบัติธรรมสู่ สถาปัตยกรรมเจริญสติ : พื้นที่ภาวนา สติปัฏฐาน คนเมือง." วิทยานิพนธ์สถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม.